ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน
Advertisements

โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โครงการขับเคลื่อนกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ สู่การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาเอกชนประเภท อาชีวศึกษา.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
Self-Assessment Report
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
.ผลงานด้านการเตรียมการสอน การจัดทำแผนการสอน
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
บุคลากร.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
งานวัดผลและเมินผล.
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ผู้อำนวยการ ..คิดอย่างไร ?
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวภายในคณะศึกษาศาสตร์ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ๒. เพื่อเป็นสื่อกลางในการเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างคณาจารย์
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างความเข้าใจเรื่อง “สถาบันการอาชีวศึกษา” โดยสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ ๑๒ – ๑๓ กันยายน ๒๕๕๕ ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก โดย นายศิริ จันบำรุง ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครนายก ทำหน้าที่ผู้อำนวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓

การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างความเข้าใจเรื่อง “สถาบันการอาชีวศึกษา” สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ วัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลาการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หัวหน้าสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ หัวหน้าแผนกวิชา หัวหน้างานหลักสูตร หัวหน้างานวัดผล หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ หัวหน้างานทะเบียน และหัวหน้างานแนะแนวอาชีพและการจัดหางานของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่หัวหน้าสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ หัวหน้าแผนกวิชา หัวหน้างานหลักสูตร หัวหน้างานวัดผล หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ หัวหน้างานทะเบียน และหัวหน้างานแนะแนวอาชีพและการจัดหางานของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ เพื่อส่งเสริมเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาอาชีวศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ เพื่อสร้างความตระหนักของบุคลากรในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓

การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างความเข้าใจเรื่อง “สถาบันการอาชีวศึกษา” สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ เป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ หัวหน้าสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ หัวหน้าแผนกวิชา หัวหน้างานหลักสูตร หัวหน้างานวัดผล หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ หัวหน้างานทะเบียน และหัวหน้างานแนะแนวอาชีพและการจัดหางานของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ จำนวน ๑๙ แห่ง รวมทั้งสิ้น ๒๐๐ คน มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการจัดการสถาบันการอาชีวศึกษาเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างความเข้าใจเรื่อง “สถาบันการอาชีวศึกษา” สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ เป้าหมาย เป้าหมายเชิงคุณภาพ บุคลากรของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการจัดตั้งสถาบันฯ สถาบันการอาชีวศึกษาสามารถดำเนินการบริหารจัดการอาชีวศึกษาอย่างเป็นระบบ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ สามารถบริหารจัดการการอาชีวศึกษาตามรูปแบบและระบบกลไกการดำเนินงานในการขับเคลื่อนสถาบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เครือข่ายความร่วมมือกับสถานศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ ในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ด้านทรัพยากร ด้านงบประมาณ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการผลิตกำลังคน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการพัฒนาหลักสูตรและเทคโนโลยี และด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม

คุณภาพของการอาชีวศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างความเข้าใจเรื่อง “สถาบันการอาชีวศึกษา” สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ คุณภาพของการอาชีวศึกษา ครูผู้สอน ตัวผู้เรียน ผู้บริหาร และการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อม

ปริมาณนักเรียนที่มีแนวโน้มลดลง คุณภาพผู้เรียนต่ำลง สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างความเข้าใจเรื่อง “สถาบันการอาชีวศึกษา” สิ่งท้าทายของคนอาชีวศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ ปริมาณนักเรียนที่มีแนวโน้มลดลง คุณภาพผู้เรียนต่ำลง การแข่งขันการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาสูงขึ้น ความไว้วางใจของผู้ปกครองที่มีต่อภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษา งบประมาณที่มีจำกัด

เราจะร่วมมือกันผ่าสิ่งท้าทายนี้อย่างไรในแต่ละบทบาทหน้าที่ การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างความเข้าใจเรื่อง “สถาบันการอาชีวศึกษา” สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓ เราจะร่วมมือกันผ่าสิ่งท้าทายนี้อย่างไรในแต่ละบทบาทหน้าที่ 1 ผู้บริหารและรองผู้อำนวยการ 2 หัวหน้าแผนกวิชา 3 ครูผู้สอน 4 บุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ

สวัสดี นายศิริ จันบำรุง ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครนายก ทำหน้าที่ ผู้อำนวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๓