เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555 เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
1.กรอบการบริหารงบค่าบริการการแพทย์แผนไทย 2555 งบบริการแพทย์แผนไทย 7.57 บาท/ปชก.สิทธิ UC (48,333,000 คน) 365,880,810 บาท การนวดไทย 5.19 บ/ปชก. (68.5%) 250,848,270 บาท งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ 0.38 บ/ปชก. (5%) 18,366,540 บาท สนับสนุนใช้ยาจากสมุนไพร 2 บ/ปชก. (26.5%) 96,666,000 บาท นวดไทย ใช้ยา จากสมุนไพร ฟื้นฟูสุขภาพ มารดาคลอด (2,500บx10,000 ราย) 25,000,000 บาท นวด,อบ,ประคบ 4.7 บ/ปชก. 225,848,270 บาท หลังคลอดเป้าหมาย 10,000 ราย ณ หน่วยบริการ ในชุมชน
2.เป้าหมาย ปี 2555 √ ส่งเสริมการนวดไทยให้มีมาตรฐานและ 2.เป้าหมาย ปี 2555 √ ส่งเสริมการนวดไทยให้มีมาตรฐานและ คุณภาพ เพิ่มการเข้าถึงบริการ โดยจำนวน ครั้งบริการนวดไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 √ จำนวนแม่หลังคลอดสิทธิUC ได้รับการฟื้นฟู สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย 10,000 ราย
3. รูปแบบการจัดสรร ปีงบประมาณ 2555 3.1 จัดสรรค่าบริการเพิ่มเติม (On top) ให้หน่วยบริการที่จัดบริการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาและฟื้นฟูสภาพ ให้แก่ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 3.2 การจัดสรร - การนวดไทย (ในหน่วยบริการและนอกหน่วยบริการ) และการสั่งใช้ยาจากสมุนไพร จัดสรรแบบวงเงินปลายปิด (Close ended) โดยจ่ายตามผลงานจริง - การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด จัดสรรครั้งละ 500 บาท ต่อการให้บริการ 1 ชุดบริการ (ครบ 5 กิจกรรม ใน 1 วัน)
รายละเอียดกิจกรรม รายละเอียด 1. กระตุ้นบริการนวดไทย การรักษาและฟื้นฟู ปี 51-52 (1 บ/ปชก.) ปี 53 (2 บ/ปชก.) ปี 54 (6 บ/ปชก.) ปี 55 (7.57บ/ปชก.) 1. กระตุ้นบริการนวดไทย การรักษาและฟื้นฟู 1.1 นวด,อบ,ประคบ เพื่อ รักษาและฟื้นฟู (ณ หน่วยบริการ) 1.2 นวด,อบ,ประคบ เพื่อ (ในชุมชน) 1.3 ฟื้นฟูแม่หลังคลอด - 2. ส่งเสริมหน่วยบริการใช้ยาสมุนไพร -
การนวดไทย 5.19 บ/ปชก. (68.5%) 250,848,270 บาท ฟื้นฟูสุขภาพ มารดาคลอด งบบริการแพทย์แผนไทย 55 7.57 บาท/ปชก.สิทธิ UC (48,333,000 คน) 365,880,810 บาท การนวดไทย 5.19 บ/ปชก. (68.5%) 250,848,270 บาท งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ 0.38 บ/ปชก. (5%) 18,366,540 บาท สนับสนุนใช้ยาจากสมุนไพร 2 บ/ปชก. (26.5%) 96,666,000 บาท นวดไทย ใช้ยา จากสมุนไพร ฟื้นฟูสุขภาพ มารดาคลอด (2,500บx10,000 ราย) 25,000,000 บาท นวด,อบ,ประคบ 4.7 บ/ปชก. 225,848,270 บาท หลังคลอดเป้าหมาย 10,000 ราย ณ หน่วยบริการ ในชุมชน
เกณฑ์การจัดสรรนวดไทย ปี 55 - จัดสรรแบบวงเงินปลายปิด (Close ended) - เพื่อการรักษาและฟื้นฟูสภาพเท่านั้น - หน่วยบริการสามารถ ให้บริการตั้งรับ (ในหน่วยบริการ) สำหรับผู้ป่วยทั่วไป ให้บริการเชิงรุก (นอกหน่วยบริการ) สำหรับผู้พิการ,หรือ ผู้ป่วยstroke (สามารถให้บริการและบันทึกแยกกับนักกายภาพได้ กรณีลงปฏิบัติงานพร้อมกัน)
Point ตั้งต้น (เหมือนปี 54) ก) การให้บริการในหน่วยบริการ - นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 0.8 คะแนน - อบไอน้ำสมุนไพร ครั้งละ 0.2 คะแนน ข) การให้บริการนอกหน่วยบริการกรณีผู้ป่วยผู้พิการ และผู้ป่วย Stroke - นวด ครั้งละ 1.5 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 1.2 คะแนน
A คือ จำนวนผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ประจำในหน่วยบริการนั้น การคำนวณค่า K ของแต่ละหน่วยบริการ (นำค่า K คูณ ผลรวม Point = Point ที่นำไปคิดเงิน) K= (0.8xA) + (0.2xB)+ C A คือ จำนวนผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ประจำในหน่วยบริการนั้น B คือ จำนวนผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่จบหลักสูตรอย่างน้อย 330 ชั่วโมงขึ้นไปจากสถาบันที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยและผู้ที่จบหลักสูตรแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ที่ยังไม่ได้ใบประกอบโรคศิลปะฯ ที่ประจำในหน่วยบริการนั้น C คือ A:B โดยกำหนดไว้ดังนี้ กรณีที่ 1 สัดส่วน 1 : น้อยกว่าหรือเท่ากับ 4 [1/1 ถึง 1/4 ]= 0.25 ถึง 1 คะแนน C = 2.0 กรณีที่ 2 สัดส่วน 1 : 5-10 [1/5 ถึง 1/10] = 0.1 ถึง 0.2 คะแนน C = 0.5
ตัวอย่าง รพ.ใจดี มี Point ไตรมาสที่ 1 = 2,000 point การคำนวณค่า K ของแต่ละหน่วยบริการ (นำค่า K คูณ ผลรวม Point = Point ที่นำไปคิดเงิน) K= (0.8xA) + (0.2xB)+ C ตัวอย่าง รพ.ใจดี มี Point ไตรมาสที่ 1 = 2,000 point มีนักการแพทย์แผนไทยฯมีใบประกอบโรคศิลปะ 2 คน มี ผช.330 372 และ800 ชม. รวม 10 คน คำนวณดังนี้ K = [(0.8x2)+(0.2x10)] + [(2)/(10)]…… = [(1.6+2)]+ [0.5] = [2.6]+ [0.5] = 3.1 ดังนั้น Point ที่นำไปคิด = 2,000*K = 2,000*3.1 = 6,200 Point [1/1 ถึง 1/4] = 0.25 ถึง 1 คะแนน C = 2.0 [1/5 ถึง 1/10] = 0.1 ถึง 0.2 คะแนน C = 0.5
การ Update ข้อมูลบุคลากร ผ่านโปรแกรม Online แพทย์แผนไทยฯ (โปรแกรมเดิม) ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2554 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2555 ครั้งที่ 4 ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2555 ครั้งที่ 5 ภายในวันที่ 30 กันยายน 2555
หน่วยบริการที่จะได้รับงบเพิ่มเติมการนวดไทย ปีงบประมาณ 2555 บริการนวดไทย หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการรับการส่งต่อ ที่มีบริการแพทย์แผนไทย และผ่าน (หรือผ่านแบบมีเงื่อนไข)ตามเกณฑ์การตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (ผนวก 6) กรณีที่ไม่ผ่านจะต้องมีแผนพัฒนาและเมื่อพร้อมก็สามารถขอให้ตรวจประเมินระหว่างปีได้ฯ
การดูแลมารดาหลังคลอด
เกณฑ์การจัดสรรฟื้นฟูฯแม่หลังคลอด ปี 55 - การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด จัดสรรครั้งละ 500 บาท ต่อการให้บริการ 1 ชุดบริการ(ครบ 5 กิจกรรม ใน 1 วัน) รายละเอียด ปี 54 ปี 55 เป้าหมาย 2,800 ราย 10,000 ราย คิดเป็น package (1 ครั้งมีครบ 5กิจกรรม) ครั้งละ 500 บาท กรณีผู้ให้บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด ต้องเป็น ผดุงครรภ์ไทย นวดไทย หรือ แพทย์แผนไทยประยุกต์เท่านั้น
การสมัครร่วมบริการฟื้นฟูฯแม่หลังคลอด ปี 55 1. หน่วยบริการสมัครผ่าน สปสช.เขต 2. สปสช.เขต รวบรวม/ตรวจสอบ ส่งกองทุนฯภายในวันที่ 15 ของเดือน ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. 3. กองทุนฯ อนุมัติและประกาศ ภายในสิ้นเดือน ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค.
ยาสมุนไพร
เกณฑ์การจัดสรรการสั่งจ่ายยาจากสมุนไพร ปี 55 - จัดสรรแบบวงเงินปลายปิด (Close ended) - สั่งจ่ายเพื่อการรักษาโรค - สั่งจ่ายเฉพาะยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ (ปัจจุบันมี 71 รายการ ขยายตามประกาศ ยา ED) (ยาจากสมุนไพรนอกบัญชียาหลักฯ หน่วยบริการ สามารถสั่งจ่ายได้แต่จะไม่ได้งบเพิ่มเติม)
รายละเอียด ปี 55 1. จัดสรรให้ทุกหน่วยบริการ ร้อยละ 90 จัดสรรรายไตรมาส พิจารณาจาก 1.1 ปริมาณการใช้ยาจากสมุนไพรใน ED โดยที่มีการสั่งใช้ยา 1 รายการคิดเป็น 1 คะแนน คะแนนเพิ่ม หากสัดส่วนมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ED ใน OPD ต่อมูลค่าการใช้ยาแผนปัจจุบันใน OPD ตามเงื่อนไข จะได้คะแนนเพิ่ม 1.2 พิจารณาจากสัดส่วนมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ED ใน OPD ต่อมูลค่าการใช้ยาแผนปัจจุบันใน OPD รพท.รพศ. 1% รพช. 2% รพ.สต. 3% โดยเอาคะแนนรวมข้อ 1.1 คูณ 2 2. จัดสรรให้เฉพาะหน่วยบริการประจำ ร้อยละ 10 จัดสรรรายไตรมาส พิจารณาจาก จำนวนการใช้ยาจากสมุนไพรใน ED 71 รายการ ทดแทนยาแผนปัจจุบัน ตามกลุ่มอาการของโรค (รายละเอียดอยู่ระหว่างดำเนินการจากส่วนกลาง)
การแบ่งงบจัดสรร 55 งบนวดไทยปี 55 = 225,848,270 บาท แบ่ง 4 ไตรมาสเท่ากัน (25:25:25:25) งบแม่หลังคลอดปี 55 = 25,000,000 บาท จัดสรรตามข้อมูลจริงของแต่ละไตรมาส งบการสั่งใช้ยาจากสมุนไพรนวดไทยปี 55 = 96,666,000 บาท แบ่ง 4 ไตรมาสเท่ากัน (25:25:25:25)
การบันทึกข้อมูลปี 55 การบันทึกข้อมูลนวดไทย ข้อมูลแม่หลังคลอดปี 55 การบันทึกข้อมูลนวดไทย ข้อมูลแม่หลังคลอดปี 55 ไตรมาส 1 นำข้อมูลจากโปรแกรมแผนไทยฯ และ ข้อมูลผ่าน OP/PP individual(นำมาเปรียบเทียบ) ไตรมาส 2-4 นำข้อมูลจาก OP/PP individual
การบันทึกข้อมูลสั่งจ่ายยาจากสมุนไพร ปี 55 ไตรมาส 1-4 ทุกหน่วยบริการส่งข้อมูล ผ่าน OP/PP individual data การบันทึกข้อมูลผู้ให้บริการ เพื่อคิดค่า K บันทึกข้อมูลผู้ให้บริการในโปรแกรมแพทย์แผนไทย ตามรอบที่กำหนด จนกว่า สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย จะมีประกาศให้ผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยทุกคนในประเทศไทย register คุณสมบัติผู้ให้บริการไปที่ สถาบันการแพทย์แผนไทย
งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการฯ รายละเอียด ปี 54 ปี 55 การจัดสรรให้ สปสช. จังหวัด 1.จัดสรรให้ทุกจังหวัดจังหวัดละ 50,000 บาท 1.คิดจากทุกจังหวัด จังหวัดละ 50,000 บาทโดยผ่าน สปสช.เขต พิจารณา(ไม่รวม กทม.) 2. จัดสรรให้ทุกจังหวัดโดยคำนวณจากจำนวนหน่วยบริการประจำ (ประมาณ 7,500 บาท/CUP) 2. กันงบไว้ส่วนกลางดำเนินการตามนโยบายฯ นำร่องจังหวัดการแพทย์แผนไทย 2. ขั้นตอนการจัดสรร จัดสรรตรงให้แก่ สปสช.จังหวัด จัดสรรและบริหารจัดการผ่าน สปสช.เขต (สามารถบูรณาการงบ 4 กท.ได้)
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ของกองทุนที่เกี่ยวข้อง หน่วย : ล้านบาท หน่วยงาน/Level PP PC TTM Dental Rehab DM/HT รวม 1. ส่วนกลาง 200.00 183.00 14.57 42.16 14.93 37.98 492.64 2. สปสช.เขต * ใช้ร่วมกับส่วนกลาง 270.00 6.50 84.61 361.11 3. สาขาจังหวัด /สสจ * 300.00 30.00 3.80 48.33 352.13 จำนวนรวม 500.00 453.00 18.37 96.99 99.54 1,205.88 หมายเหตุ * งบข้อ 2 และ ข้อ 3 บริหารแบบบูรณาการที่ระดับเขต
การตรวจสอบหลังประมวลผลข้อมูลงบค่าบริการ ค่าบริการนวด ประคบ อบสมุนไพร ค่าบริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอดฯ ค่าสั่งใช้ยาจากสมุนไพร หากพบความผิดปกติ ส่วนกลางจะส่งข้อมูลในเขตตรวจสอบ โดยจะระงับการโอนงบประมาณในไตรมาสนั้น ยกไปจ่ายในไตรมาสสุดท้ายหากผ่านการตรวจสอบ
Q&A การฝังเข็ม เบิกกับ สปสช.ได้หรือไม่? การฝังเข็ม เบิกกับ สปสช.ได้หรือไม่? พรบ.หลักประกันฯ 2545 ม.3 ได้ระบุว่า การบริการทางการแพทย์และ สธ. รวมถึง การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกด้วย ดังนั้น สปสช.ได้ให้งบรวมกับรายหัว OP/IP แล้ว และในตอนนี้ สปสช.เพิ่ม On top เฉพาะ นวด ประคบ อบสมุนไพร การดูแลมารดาหลังคลอด และสมุนไพร ED เท่านั้น และการให้บริการผู้ป่วย UC ไม่สามารถเรียกเก็บค่าบริการกับผู้ป่วย เพราะถือว่าเป็นสิทธิของผู้ป่วย
โดยให้ ข้าราชการ ใน รพ.สต.เป็นผู้ตรวจและสั่งการรักษาได้ 2. รพ.สต.ไม่มีนักการแพทย์แผนไทยจะเปิดบริการและเบิก On top กับ สปสช.ได้หรือไม่? สามารถเปิดบริการและรับ On top ได้ โดยประสานกับ สสจ. ประเมินตามภาคผนวก 6 ของหน่วยปฐมภูมิ และแจ้งขอรหัสการบันทึกข้อมูลแพทย์แผนไทยผ่านทาง สสจ. เช่นกัน โดยให้ ข้าราชการ ใน รพ.สต.เป็นผู้ตรวจและสั่งการรักษาได้ ต่างกับสิทธิสวัสดิการข้าราชการ ต้องมีแพทย์ แพทย์แผนไทยสั่งการรักษา และมี ผช. 330 ขึ้นไปให้บริการเท่านั้น
3. รพ. สต. บันทึกผลงานเบิก On top กับ สปสช. ได้รับงบประมาณอย่างไร 3. รพ.สต.บันทึกผลงานเบิก On top กับ สปสช.ได้รับงบประมาณอย่างไร? คิดตามเกณฑ์ Point คูณค่า K ของหน่วยบริการโดยเป็น Global ระดับประเทศ เงินจะถูกโอนไปที่แม่ข่ายโดยระบุรายละเอียดแยก รพ.สต.ในเครือข่ายให้ แม่ข่ายโอนงบประมาณตามผลงานให้ลูกข่ายต่อไป
2. ประสานแม่ข่ายเพื่อขอรับงบประมาณ 4. แม่ข่ายไม่โอนงบประมาณ ตามผลงานให้ รพ.สต. จะดำเนินการอย่างไร? 1.หน่วยบริการทุกแห่งสามารถตรวจสอบการโอนงบประมาณของ สปสช.ได้ ทาง http://ucapps1.nhso.go.th/budgetreport/ เลือกปีงบประมาณ /สปสช.เขต /จังหวัด/แม่ข่าย แล้วไป Download รายละเอียดการโอนมาตรวจสอบได้ 2. ประสานแม่ข่ายเพื่อขอรับงบประมาณ 3. หากประสบปัญหา แจ้ง สสจ. หรือ สปสช.เขต. ต่อไป
5. สปสช. จะมีงบพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้หน่วยบริการหรือไม่ อย่างไร 5. สปสช.จะมีงบพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้หน่วยบริการหรือไม่ อย่างไร? ไม่มีงบประมาณตรงลงหน่วยบริการ แต่ในปีงบประมาณ 53-54 มีงบประมาณสนับสนุนระดับจังหวัด ให้พัฒนาและแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด และ งบประมาณบูรณาการกองทุนปฐมภูมิงบพัฒนาบุคลากรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 80 คน จ้างนักการแพทย์แผนไทยฯ 7 คน ปีงบประมาณ 2555 จะมีงบพัฒนาฯ ในระดับเขต โดยจะบริหารโดยคณะกรรมการแพทย์แผนไทยฯของเขต ซึ่งมาจาก สสจ. และ รพ. พิจารณา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ สปสช.เขต 5 ราชบุรี