งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557
สำนักงานหลักประกันภาพแห่งชาติ เขต 10 อุบลราชธานี 15 ตุลาคม 2556

2 กรอบแนวทางการบริหารงบ ปี 2557
ประเด็น รายละเอียด เป้าประสงค์ ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขด้วยการใช้บริการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีบริการแพทย์แผนไทยที่มีคุณภาพและปลอดภัยคู่ขนานไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อให้มีการใช้ยาจากสมุนไพรที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการcertifyระดับCUP ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน เน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ มาตรการ ส่งเสริมให้มีบริการเวชกรรมแผนไทยโดยนักการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการประจำ ส่งเสริมให้มีการทำหัตถการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาในหน่วยบริการและบริการเชิงรุกในชุมชน รวมถึงการทำหัตถการเพื่อฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด ส่งเสริมให้หน่วยบริการประจำและเครือข่ายใช้ยาจากสมุนไพรเพิ่มขึ้น รวมถึงการใช้ยาจากสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบันในบางรายการที่ทดแทนกันได้ สนับสนุนและร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข สถาบันทางวิชาการ องค์กรเอกชนในการพัฒนาบริการ TTM สนับสนุนกลไกบริหารจัดการระดับจังหวัดในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยอย่างครบวงจร พัฒนาข้อมูล การกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

3 แผนผังการจัดสรรค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี 2557
POP UC = ล้านคน บริการการแพทย์แผนไทย 8.19 บ./ปชก.สิทธิ UC ลบ. 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม 7.62 บ/ปชก ลบ. 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 0.57 บ./ปชก ลบ. งบพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ จัดสรรให้หน่วยบริการละ 150,000 บาท จ่ายเพิ่มเติมให้จังหวัดนำร่องต้นแบบแพทย์แผนไทยที่มีความพร้อมอย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด จัดสรรเพื่อสนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. ตามโครงการนำร่องของกรมพัฒน์ฯ จำนวน 225 แห่งๆละ 1.8 แสนบาทต่อปี (บริหารจัดการงบโดยสปสช.ส่วนกลาง) จัดสรรตามเกณฑ์ผลงานบริการ สนับสนุนเขตในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยในพื้นที่ 13 เขตๆ ละ 2 ลบ สนับสนุน สปสช.ส่วนกลาง เพื่อพัฒนาระบบบริการฯ โดยร่วมมือกับสธ. สถาบันทางวิชาการ องค์กรเอกชน รวมทั้งพัฒนาข้อมูล การกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

4 งบค่าบริการแพทย์แผนไทยปี 2556 สปสช.เขต 10
บริการแพทย์แผนไทย 8.19 บ. /ปชก. สิทธิ UC 33,547,005 บาท 2. งบสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ 2,000,000 บาท 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม ปชก. : ผลงานเดิม ในสัดส่วน 50:50 31,547,005 บาท พัฒนาระบบบริการ TTM เสนอรวม 1.เกณฑ์ศักยภาพ 1,500,000 2.จังหวัดนำร่องต้นแบบ TTM 1,000,000 3.เกณฑ์ผลงานบริการ 29,047,005

5 ตัวชี้วัดปีงบประมาณ 2557 ตัวชี้วัด ผลงาน ปี 2556 เป้าหมาย ปี 2557
1.จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการ certify ระดับ Cup 400แห่ง (34) 590 แห่ง 2.ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 (40.76) ร้อยละ 20 3.ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน เน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ ร้อยละ 60 ร้อยละ 75.82 (74.06) ร้อยละ 70

6 สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556 รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 (เพิ่มขึ้น 0.99)
ปี (เพิ่มขึ้น 0.99) 1. งบประมาณ สัดส่วน ปชก.: ผลงาน =70:30 (ค่าบริการ) งบส่งเสริมฯ : จัดสรรตามประชากร UC สัดส่วน ปชก. : ผลงาน=50:50 (ค่าบริการ) งบส่งเสริมฯ : สปสช. เขตละ 2 ล้านบาท 2. หลักเกณฑ์เงื่อนไข จัดสรรตามเกณฑ์ศักยภาพแก่หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ของส่วนกลางและเกณฑ์ระดับพื้นที่ จัดสรรตามผลงานบริการ กำหนดเกณฑ์การจ่ายโดย สปสช.เขต 1. จัดสรรตามเกณฑ์ศักยภาพแก่หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ของส่วนกลาง (เพิ่มเกณฑ์) และเกณฑ์ระดับพื้นที่ 2. จัดสรรตามผลงานบริการ กำหนดเกณฑ์การจ่ายโดย สปสช.เขต 3. การ payment Payment โดย สปสช.เขต 4. การบริหาร จัดการข้อมูล สปสช.เขตดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล และบริหารจัดการข้อมูลเอง

7 หลักเกณฑ์ เงื่อนไข อัตราการจ่ายค่าบริการ
หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับงบ เงื่อนไข อัตราการจ่าย เกณฑ์ศักยภาพ หน่วยบริการประจำ (CUP) ต้องผ่านเกณฑ์กลางและผ่านเกณฑ์ระดับพื้นที่ เป็นไปตามอัตราที่ อปสข.เห็นชอบ จ่ายให้จังหวัดต้นแบบนำร่อง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เขตละอย่างน้อย 1 จังหวัด สนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. 225 แห่ง หน่วยบริการระดับรพ.สต. รพ.สต. ที่มีแพทย์แผนไทย ตามโครงการนำร่องของกรมพัฒน์ฯ ไม่เกิน 180,000 บาท/รพสต./ปี เกณฑ์ผลงานบริการ หน่วยบริการทุกแห่งที่มีผลงานบริการ เป็นไปตามหลัก เกณฑ์เงื่อนไขที่ อปสข.เห็นชอบ

8 แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม
1.1 จัดสรรตามความพร้อมด้านศักยภาพในการจัดบริการ เวชกรรมไทยในหน่วยบริการประจำ เกณฑ์กลาง : มีแพทย์แผนไทยประจำ ณ หน่วยบริการ (คำว่า แพทย์แผนไทยหมายถึง ผู้ที่จบปริญญาตรีแพทย์แผนไทยและมีใบประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรมไทย หรือผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์) มีการจัดตั้งคลินิกเวชกรรมไทย ณ หน่วยบริการนั้น มีป้ายที่เห็นได้ชัดเจน ประชาชนเข้าถึงง่าย ตามมาตรฐานของกรมพัฒน์ฯ จะต้องมีแผนงานดำเนินงานและการสนับสนุนเครือข่าย เช่น แผนการให้บริการ แผนการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็น (การสนับสนุนบุคลากร เรื่องยาสมุนไพร การจัดสรรงบค่าบริการให้แก่หน่วยบริการปฐมภูมิ ตามผลงานบริการจริง) เกณฑ์เขต ...ไม่มีเกณฑ์เขต... จำนวนงบประมาณที่จะให้ไม่เกิน 150,000 บาทต่อแห่ง

9 แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม
1.1 จัดสรรตามความพร้อมด้านศักยภาพในการจัดบริการ เวชกรรมไทยในหน่วยบริการประจำ จังหวัด หน่วยบริการปี 2556 เป้าปี 2557 มุกดาหาร มุกดาหาร ดอนตาล นิคมคำสร้อย หว้านใหญ่ (4) 1 อำนาจเจริญ อำนาจเจริญ พนา ปทุมราชฯ ชานุมาน (4) ศรีสะเกษ อุทุมพรฯ กันทรลักษ์ ยางชุมน้อย ห้วยทับทัน ขุนหาญ (5) - ยโสธร ยโสธร ค้อวัง นพ.หาญ กุดชุม เลิงนกทา คำเขื่อนแก้ว (6) 2 อุบลราชธานี สรรพสิทธิ์ 50 พรรษา ม่วงสามสิบ เขื่องใน ดอนมดแดง ตระการฯ กุดข้าวปุ้น พิบูลฯ โขงเจียม สิรินธร วารินฯ สำโรง เดชอุดม นาจะหลวย ตาลสุม (15) 6

10 แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม
1.2 จ่ายตามเกณฑ์ให้จังหวัดต้นแบบนำร่องแพทย์แผนไทย ที่มีผลงานตามเกณฑ์ เขตละ 1 จังหวัด งบประมาณ 1,000,000 บาท กรอบเงิน & กรอบกิจกรรม จัดสรรให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อัตราการจ่ายเป็นไปตามที่อปสข.เห็นชอบ การบริหารจัดการ สปสช. ส่วนกลาง กำหนดกรอบแนวทาง/รูปแบบการดำเนินงานจังหวัดต้นแบบแพทย์แผนไทยระดับเขต สปสช.เขต กำหนดกรอบแนวทางเพิ่มเติมระดับพื้นที่ โดย ความเห็นชอบของ อปสข. และบริหารจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และแนวทางที่กำหนด

11 แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม
1.3 สนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยในรพ.สต. กรอบเงิน & กรอบกิจกรรม จัดสรรเพื่อสนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยใน รพสต. อัตราการจ่าย 1.8 แสนบาท/แห่ง/ปี จำนวน 225 แห่งตามโครงการนำร่องของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การบริหารจัดการ สปสช.ส่วนกลาง กำหนดหลักเกณฑ์ แนวทางและเงื่อนไขการจัดสรร และจัดสรรงบประมาณตามเกณฑ์ที่กำหนด สปสช.เขต ติดตามผลการดำเนินงานในระดับพื้นที่ และบริหารจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และแนวทางที่กำหนด

12 หน่วยบริการที่ได้รับงบสนับสนุนการจัดบริการ
หน่วยบริการละ 180,000 บาท จำนวน 16 แห่ง

13 หน่วยบริการที่ได้รับงบสนับสนุนการจัดบริการ
หน่วยบริการละ 180,000 บาท จำนวน 16 แห่ง

14 แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม
1.4 จัดสรรตามเกณฑ์ผลงานบริการ กรอบเงิน & กรอบกิจกรรม จัดสรรให้กับหน่วยบริการที่มีผลงานบริการ - การใช้ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด นวด ประคบ อบสมุนไพรเพื่อการรักษาผู้ป่วยในหน่วย บริการ และเพื่อฟื้นฟูร่างกายด้วยการแพทย์แผนไทยแก่ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุใน ชุมชน การบริหารจัดการ ส่วนกลาง สนับสนุนข้อมูลและวิชาการที่เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์กลาง, ติดตามประเมินผลภาพรวม สปสช.เขต กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางการจัดสรร โดยผ่านความเห็นชอบของ อปสข.

15 การใช้ยาสมุนไพร จัดสรรให้ทุกหน่วยบริการ
จากการใช้ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ โดยที่มีการสั่งใช้ยา 1 รายการ คิดเป็น 1 คะแนน

16 การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
การใช้ยาสมุนไพร การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล สิทธิ UC ในพื้นที่เขต 10 อุบลราชธานี ต้องไม่ตายก่อนมารับบริการ ต้องไม่อยู่ระหว่าง Admit ในรพ. มีรหัสยาสมุนไพรที่ถูกต้อง เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (ED TYPE = 1)

17 บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด
จัดสรร 2,500 บาท /ชุดบริการ ต้องสมัครเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการและผู้ ให้บริการต้องมีผู้มีใบประกอบโรคศิลปะ ด้านผดุงครรภ์ไทย/นวดไทย หรือ แพทย์แผนไทยประยุกต์เท่านั้น (1 ชุดบริการต้องครบ 5 visit และแต่ละ visit ต้องทำให้ครบ 5 กิจกรรมและต้องทำภายในเวลา 3 เดือนหลังคลอด) การบันทึกข้อมูลต้องลงรหัสหัตถการให้ครบ 5 กิจกรรม สมัครเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการใหม่พร้อมยีนยันข้อมูลหน่วยบริการเดิมโดย ให้สสจ.รวบรวมส่งสปสช.เขต ภายใน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูลที่นำมาจ่ายแม่หลังคลอดเริ่ม 1 ตุลาคม 2556 จ่ายแบบเป็นโควต้า กรณีเกินโควต้าให้เฉลี่ยกันในวงเงินนั้น

18 บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด
เงื่อนไขหลัก จ่ายต่อ 1 package ได้ 1 แต้ม ถ้าไม่ครบไม่จ่าย - 1 package ประกอบด้วย 1.1 บริการต่อเนื่อง 5 ครั้ง 1.2 บริการทุกครั้งได้รับครบ 5 กิจกรรม 1.3 วันบริการต้องไม่ห่างจากวันคลอดเกิน 90 วัน วันแรกของการทำทับหม้อเกลือ - กรณีคลอดปกติ 2+ วัน - ผ่าคลอด 30+ วัน 1.4 DX ต้องมี U ด้วย ไม่จำเป็นต้องเป็น DX หลัก 1.5 ระยะห่างของแต่ละครั้งต้องไม่เกิน 7 วัน

19 บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ผู้รับบริการต้องเป็นสิทธิ UC ในพื้นที่เขต 10 อุบลราชธานี ผู้รับบริการต้องไม่ตายก่อนมารับบริการและต้องไม่อยู่ระหว่าง Admit ในโรงพยาบาล ผู้ให้บริการต้องเป็นผู้มีใบประกอบโรคศิลป์เท่านั้น เป็นหน่วยบริการที่สมัครและผ่านการอนุมัติเข้าร่วมให้บริการมารดาหลังคลอด ตรวจสอบหัตถการต้องเป็นหัตถการที่ให้บริการมารดาหลังคลอด( , , , , ) CID ผู้รับบริการต้องมีในฐานข้อมูลประชากรของ สนบท.หรือ สปสช. SEX ผู้รับบริการ ต้องเป็นเพศหญิง

20 การบริการนวด อบ ประคบ 1. การให้บริการในหน่วยบริการ
- นวด ครั้งละ คะแนน - ประคบ ครั้งละ คะแนน - อบไอน้ำสมุนไพร ครั้งละ คะแนน กรณีถ้ามีการทำหัตถการประคบและอบในวันเดียวกัน จะตัดให้เฉพาะหัตถการใดหัตถการหนึ่งเท่านั้น 2. การให้บริการนอกหน่วยบริการ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคเรื้อรัง (DM HT) ผู้พิการ ผู้สูงอายุในชุมชน - นวด ครั้งละ คะแนน - ประคบ ครั้งละ 1.2 คะแนน 3. ค่า K คิดเหมือนปี 56 4. หน่วยบริการต้องผ่านการประเมินการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิในหมวด 5.7 ด้วย

21 การคำนวณค่า K ของหน่วยบริการ
K= (0.8xA) + (0.2xB)+ C A คือ จำนวนผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ประจำในหน่วยบริการนั้น B คือ จำนวนผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่จบหลักสูตรอย่างน้อย 330 ชม.ขึ้นไป C คือ A:B โดยกำหนดไว้ดังนี้ กรณีที่ 1 สัดส่วน 1 : น้อยกว่าหรือเท่ากับ 4 คะแนน C = 2.0 กรณีที่ 2 สัดส่วน 1 : คะแนน C = 0.5 นำค่า K คูณผลรวม Point + Point เดิม = Point ที่นำไปคิดเงิน ให้ทุกหน่วย update ข้อมูลบุคลากรผ่านโปรแกรม TTM online ที่หน้า web ภายใน 30 พฤศจิกายน 2556

22 การบริการ นวด อบ ประคบ การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
หน่วยบริการต้องผ่านการประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ข้อ 5.7 ต้องเป็นสิทธิ UC ในพื้นที่เขต 10 อุบลราชธานี ผู้รับบริการต้องไม่ตายก่อนมารับบริการ และไม่อยู่ระหว่าง Admit ในโรงพยาบาล CID ผู้รับบริการต้องมีในฐานสปสช.หรือสนบท. CID ผู้ให้บริการต้องมีในฐานทะเบียนราษฎร์ และตรงกับที่สสจ.ส่งให้สปสช. ผู้ให้บริการ 1 คน นวดได้ไม่เกิน 5 คนต่อวัน กรณีเกิน 5 จ่ายให้ 5 ตามเวลาบันทึกข้อมูล ต้องมีการบันทึกข้อมูลหัตถการแพทย์แผนไทย(หัตถการ 7 หลัก) ต้องมีการบันทึกข้อมูลการวินิจฉัยโรค(รหัสโรคแผนปัจจุบันหรือรหัสโรคแผนไทย) ผู้รับบริการสามารถมารับบริการได้ไม่เกิน 1 ครั้ง/วัน

23 งบจัดสรรตามผลงานบริการปีงบประมาณ 2557
แบ่งสัดส่วนงบเหมือนปีงบประมาณ 2556 กิจกรรม ร้อยละ งบประมาณ 1.นวด อบ ประคบ 60% 17,971,405.00 2.ยาสมุนไพร 30% 8,173,600.00 3.การฟื้นฟูแม่หลังคลอด 10% 2,900,000.00 รวม 100% 29,045,005.00

24 ระบบรายงานข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปี 2557
Programs ข้อมูล นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด (กรณี OP) ยาสมุนไพร / มูลค่ายาสมุนไพร บุคลากรแผนไทย (ผู้ประกอบโรคศิลปะ ,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย) การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (แผนไทย) OP/PP Individual /Province /21 แฟ้ม Program TTM Data Center

25 แฟ้มที่เกี่ยวข้องกับบริการแผนไทย << สีแดง>>
แฟ้มที่เกี่ยวข้องกับบริการแผนไทย << สีแดง>> ข้อมูลมาตรฐาน 21 แฟ้ม (เวอร์ชัน ก.ค. 2555) PERSON SERVICE ANC DEATH DIAG PP CHRONIC DRUG MCH HOME PROCED EPI CARD SURVEIL FP WOMAN APPOINT NUTRI NCDSCREEN LABFU CHRONICFU ต้องส่งข้อมูลถูกต้องตามมาตรฐานการส่งข้อมูล OP/PP

26 รอบประมวลผลการจ่าย กรณี นวด อบ ประคบ และการใช้ยาสมุนไพร คิดเป็น point
งวดที่ 1 ใช้ข้อมูล กรกฎาคม 2555-กันยายน 2556 เพื่อมา Prepaid 50% ของวงเงิน จ่ายชดเชยภายใน 30 ธันวาคม 2556 งวดที่ 2 ใช้ข้อมูล กรกฎาคม 2556-มิถุนายน 2557 ตัดข้อมูลภายใน 30 กรกฎาคม 2557 จ่ายชดเชยภายใน 30 สิงหาคม 2557

27 กรณีการจ่ายงวดที่ 1 แล้วไม่ได้ครบตามโควตา
รอบประมวลผลการจ่าย กรณี ฟื้นฟูแม่หลังคลอด งวดที่ 1 ใช้ข้อมูล 1 ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557 ตัดข้อมูลภายใน 30 เมษายน 2557 จ่ายชดเชยภายใน 30 พฤษภาคม 2557 กรณีการจ่ายงวดที่ 1 แล้วไม่ได้ครบตามโควตา งวดที่ 2 ใช้ข้อมูล 1 เมษายน 2557 – มิถุนายน 2557 ตัดข้อมูลภายใน 30 กรกฎาคม 2557 จ่ายชดเชยภายใน 30 สิงหาคม 2557

28 ความถูกต้องของข้อมูล
การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ จาก Data center การให้บริการจาก OP/PP ผู้ให้บริการจาก TTM online และยืนยันข้อมูลผ่านสสจ.

29 ผู้ประสานงาน การขอ U/P IT จังหวัด พี่แก้ว : ประสิทธิ์ บุญเกิด
พี่แก้ว : ประสิทธิ์ บุญเกิด โปรแกรม/การส่งข้อมูล Tel ม่าเหมี่ยว : ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ ผู้รับผิดชอบงาน Tel การขอ U/P IT จังหวัด

30 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google