แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
กำหนดการประชุม HR situation analysis เพื่อเป็นข้อมูลในการ จัดทำ แผนยุทธศาสตร์ฯ HR planning ร่วมกันกำหนดแผน ยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร HR monitoring and evaluation กำหนด แนวทางการควบคุมกำกับและการ ประเมินผล
Human resource situation analysis สถานการณ์และนโยบายด้านยาเสพติดระดับชาติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กรมการแพทย์ แผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากรกรมการแพทย์ 4 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 เป้าประสงค์ : บุคลากรได้รับการพัฒนาให้มี สมรรถนะตามความจำเป็นของหน่วยงาน เครื่องชี้วัด : ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านการ พัฒนา มีสมรรถนะที่เหมาะแก่การปฏิบัติงาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 เป้าประสงค์ที่ 1 : บุคลากรมีความเป็นผู้นำและ เป็นเลิศในแต่ละสาขาวิชาชีพและมีมาตรฐานใน การปฏิบัติงานที่ดี เครื่องชี้วัด มาตรฐานการปฏิบัติงาน จำนวนผลงานทางวิชาการด้าน ที่ได้รับการยอมรับ เป้าประสงค์ที่ 2 : บุคลากรสามารถนำความรู้ไป ถ่ายทอดได้ในระดับสากล เครื่องชี้วัด จำนวนครั้งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ ได้รับการยอมรับจากองค์กรระดับนานาชาติ
Human resource situation analysis ยุทธศาสตร์ที่ 3 เป้าประสงค์ : บุคลากรของกรมการแพทย์ที่ผ่าน การพัฒนามีจิตสำนึก มีคุณธรรม จริยธรรมที่ดี ในการทำงาน เครื่องชี้วัด ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาด้าน คุณธรรมและจริยธรรม บุคลากรที่ได้รับการลงโทษทางวินัยน้อยกว่า 1% ร้อยละ 80 ของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาใน แต่ละปีมีสมรรถนะด้านจริยธรรม และบริการ ที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ 4 เป้าประสงค์ : เพื่อให้มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยี สารสนเทศในการพัฒนาบุคลากรทั้งทางด้าน บริหาร บริการและวิชาการ อย่างต่อเนื่อง เครื่องชี้วัด จำนวนหน่วยงานมีฐานข้อมูลด้านพัฒนา บุคลากรที่สามารถเชื่อมโยงผ่านระบบ อินเตอร์เนต จำนวนหน่วยงานมีระบบและเครือข่าย พันธมิตร ร้อยละของจำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา ผ่าน E-Learning
Human resource situation analysis สมรรถนะหลักที่ต้องมีและผลการ ประเมิน ของ กพ. ของกรมการแพทย์ ของธัญญารักษํและศูนย์ฯ ภูมิภาค แผนเข็มมุ่งสถาบันธัญญารักษ์ เน้นผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ ส่งเสริมวิจัยและพัฒนาเชิง ประเมินผล แก้ปัญหาผู้ป่วยอยู่ไม่ครบ กำหนด
Human resource situation analysis ความต้องการของลูกค้า ภายนอก / ภายใน ลูกค้าภายนอก สถานพยาบาลอยากได้สูตร การรักษา ผู้ป่วย สุรา สารระเหย บุหรี hard core แนวทางการติดตาม ที่ทำได้ จริงๆ
Human resource situation analysis ความต้องการของลูกค้าภายนอก ภายใน ลูกค้าภายนอก คนไข้และญาติอยากได้ บุคลากร รักษาให้เลิกได้จริง มี ความเชี่ยวชาญ บริการที่ดี มีทักษะที่ดี หน่วยงานในเชิงนโยบาย อยากได้ข้อมูลที่ทันเวลา มี ข้อมูล ที่ชี้นำในเชิงนโยบายได้ ข้อมูล ที่เป็น Evidence base น่าจะ พยากรณ์สถานการณ์ ปัญหาล่วงหน้าได้ หน่วยงาน / กระทรวงอื่น ต้องการ เชื่อมโยงข้อมูลกับเราได้ดีกว่านี้
Human resource situation analysis ลูกค้าภายใน เรา ก็ต้องการ เชื่อมโยงข้อมูลกับ หน่วยงานกระทรวงอื่นๆเช่นกัน ผู้นำระดับกลางอยากได้ ระบบ ที่ทำให้ Guideline ถูกนำไปใช้จริง มีการประเมิน และพัฒนา ต้องการ บุคลากรเฉพาะวิชาชีพ มากขึ้น เช่น นักกิจกรรมบำบัด นักจิตฯ เภสัช ฯ พยาบาลวิชาชีพ มีการจัดวางกำลังคน ให้ตรงวิชาชีพ Right man in the right job ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม ของการทำงาน ตรงพันธกิจ แต่ไม่ตรงวิชาชีพ การกระจายการพัฒนาคน ให้ทั่วถึงทั้ง สายวิชาชีพ และ สายสนับสนุน ความต้องการของลูกค้าภายนอก / ภายใน
Human resource situation analysis ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน / ประเด็นที่ต้องพัฒนา Competency GAP R&D EBP L C L จุดอ่อน / สภาพแวดล้อมใน องค์กร ขาดการจัดการความรู้ ความถูกต้อง ตรงกัน ของข้อมูลที่ สำคัญ ฐานข้อมูลบุคลากร ยังไม่เป็น ปัจจุบัน และเข้าถึงได้ยาก
Human resource situation analysis จุดอ่อน / สภาพแวดล้อมใน องค์กร ระบบ Competency ยังไม่ได้ นำมาใช้ประโยชน์ ยังประเมินไม่ได้ ไม่เกิด IDP ไม่สามารถสร้างแผนพัฒนา ที่ตรงกับ competency gap Core functional specific ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน / ประเด็นที่ต้องพัฒนา
Human resource situation analysis จุดอ่อน / สภาพแวดล้อมในองค์กร แผนพัฒนาบุคลากรที่ตรงกับ Training need ไม่ได้รับการ สนับสนุนงบประมาณ การฝึกอบรม การนิเทศ การสอนงาน การมอบหมายงาน โครงสร้างผลตอบแทน การควบคุมทางวินัย การประเมินผลการปฏิบัติงานที่ น่าเชื่อถือและเป็นธรรม การพัฒนาเทคโนโลยี การปรับปรุงกฎระเบียบที่เอื้อต่อการ พัฒนาคน ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน / ประเด็นที่ต้องพัฒนา
HR planning: ประเด็นที่ต้อง บูรณาการ การสร้างขวัญและกำลังใจ Recruiting plan ปรับปรุง Career path โครงสร้างที่เกื้อหนุนต่อการ พัฒนากำลังคน วางระบบสมรรถนะ การกำหนด การประเมิน การนำไปใช้ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร การฝึกอบรมภายใน การฝึกอบรมภายนอก ศึกษาต่อเนื่อง