ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
KM Learning Power ครั้งที่ 3
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
Eng ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการขันติ โสรัจจะ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษา.
จำนวนห้องสมุดประชาชนมีการ พัฒนาการให้บริการด้วยระบบ ICT เสร็จตามแผนที่กำหนด และเป็นที่ พึงพอใจของผู้ใช้บริการ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อวิชากิจกรรมการจัด ตกแต่งดอกไม้ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 3 กลุ่ม A31 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557.
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
นางสาวแววดาว วงค์เรือน วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแกะสลักผักและผลไม้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการโรงแรม นางสาวณิชาพิชญ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
รายงานผลการวิจัย.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
เรื่อง การพัฒนาทักษะการติดตั้งระบบเครือข่ายโดยใช้โปรแกรม VMware 8.0

ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน การวิจัยนี้ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและเพื่อให้มีกิจนิสัยในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งเป็นลักษณะสื่อประสมที่มีการนำเสนอเนื้อหาได้หลายมิติพร้อมกัน

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและหาความพึงพอใจของผู้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูล

ประมาณค่าความคิดเห็น ตารางผลสรุป ค่าความสอดคล้องของแบบสอบถามความพึงพอใจ หัวข้อประเมิน ประมาณค่าความคิดเห็น ผู้ชี่ยวชาญคนที่ ค่า IOC แปลผล 1 2 3 เนื้อหาและการดำเนินเรื่อง 1. ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา 1.00 ใช้ได้ 2. การเรียบเรียงเนื้อหาที่เข้าใจง่าย 3. ความเหมาะสมของเนื้อหา 0.66 4. ความน่าสนใจในการนำเสนอ 5. ความสอดคล้องของแบบทดสอบกับบทเรียน รูปภาพ ตัวอักษร ภาษา และเทคนิคการนำเสนอ 6. ความสวยงามของรูปภาพที่ใช้ประกอบสื่อ 7. ความชัดเจนของตัวอักษร 8. ความถูกต้อง ชัดเจน ของภาษา 9. ความน่าสนใจของเทคนิคที่ใช้ในการนำเสนอ 10. ความเหมาะสมในการใช้รูปภาพประกอบเนื้อหา ภาพรวมของสื่อ 11. ความเหมาะสมในการใช้เป็นสื่อประกอบการเรียน 12. เป็นสื่อที่สามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง 13. ความสะดวกในการเปิดหรือติดตั้งใช้งาน จากตารางแสดงให้เห็นว่าแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลที่สร้างขึ้น ค่า IOC เท่ากับ 0.79 แสดงว่าแบบประเมินนี้สามารถนำไปใช้ในการเก็บข้อมูลได้

ผลการประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ข้อความ ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ เนื้อหาและการดำเนินเรื่อง 1. ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา 3.70 0.67 มาก 2. การเรียบเรียงเนื้อหาที่เข้าใจง่าย 3.6 0.52 3. ความเหมาะสมของเนื้อหา 3.7 4. ความน่าสนใจในการนำเสนอ 3.44 0.73 ปานกลาง 5. ความสอดคล้องของแบบทดสอบกับบทเรียน 0.94 รูปภาพ ตัวอักษร ภาษา และเทคนิคการนำเสนอ 6. ความสวยงามของรูปภาพที่ใช้ประกอบสื่อ 3.9 0.57 7. ความชัดเจนของตัวอักษร 3.3 0.82 8. ความถูกต้อง ชัดเจน ของภาษา 9. ความน่าสนใจของเทคนิคที่ใช้ในการนำเสนอ 3.5 0.71 10. ความเหมาะสมในการใช้รูปภาพประกอบเนื้อหา 3.4 0.7 ภาพรวมของสื่อ 11. ความเหมาะสมในการใช้เป็นสื่อประกอบการเรียน 12. เป็นสื่อที่สามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง 13. ความสะดวกในการเปิดหรือติดตั้งใช้งาน รวม 3.60 0.69 แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความพึงพอใจเฉลี่ยอยู่ที่ 3.60 ซึ่ง อยู่ในเกณฑ์มาก โดยผู้ประเมินมีความพึงพอใจในเรื่องของความสวยงานของรูปภาพที่ใช้ประกอบสื่อ และภาพรวมของสื่อ ในหัวข้อเป็นสื่อที่สามารถศึกษาได้ด้วยตัวเอง สูงที่สุด อยู่ที่ ระดับค่าเฉลี่ย 3.9 และมีความพึงพอใจในเรื่องของความชัดเจนของตัวอักษรน้อยที่สุด อยู่ที่ระดับค่าเฉลี่ย 3.3

สรุปผลการวิจัย สรุปได้ว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในสมมติฐาน และนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้มีความรู้เพิ่มขึ้นจริง และสามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ผู้ที่ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความพึงพอใจเฉลี่ย อยู่ในเกณฑ์มาก โดยผู้ประเมินมีความพึงพอใจในเรื่องของความสวยงามของรูปภาพที่ใช้ประกอบสื่อ และภาพรวมของสื่อ ในหัวข้อเป็นสื่อที่สามารถศึกษาได้ด้วยตัวเองสูงที่สุด และมีความพึงพอใจในเรื่องของความชัดเจนของตัวอักษรน้อยที่สุด

ประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัย เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน สนับสนุนผู้เรียน ให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งนอกจากจะทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลมากขึ้น

จบการนำเสนอเพียงเท่านี้ค่ะ