1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร Primary GMP 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิต - ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอ - สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตแล้ว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
ประเด็นการตรวจติดตาม
การจัดสรรตำแหน่งและการคัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้ารับราชการ
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
แผนปฏิบัติตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ จำนวนฟาร์มที่ตรวจประเมินและ รับรองมาตรฐาน 2. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตและนำไป ปล่อยในแหล่งน้ำ 3. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตในพื้นที่
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
Food and drug administration
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ไข้เลือดออก.
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป ผลผลิตเกษตร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
Primary GMP นางอุบล ธาราวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
กลุ่มที่ 11.
1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 57 และ เมื่อวันที่ 18 ก.พ.58
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2551 ( เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ราชบุรี ผลงานถึงเดือนพฤษภาคม.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร Primary GMP 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิต - ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอ - สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตแล้ว จัดทำแผนออก ตรวจเดือนม. ค.- ก. พ.58 ตรวจประเมินให้มีคะแนนประเมินมากกว่าร้อย ละ 60 - สถานที่ผลิตที่ยังไม่ได้รับอนุญาต - จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง PGMP วันที่ 6 ก. พ.58 - ลงพื้นที่ ณ สถานที่ผลิตเพื่อให้คำแนะนำใน การปรับปรุงพัฒนา ( มี. ค.- พ. ค.58) - กรณีครั้งที่ 1 ไม่ผ่านเกณฑ์ ลงประเมินซ้ำ และให้คำแนะนำจนผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน ( มิ. ย.- ก. ค.58)

1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร Primary GMP 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 1.2 เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ตรวจวิเคราะห์ 20 ตัวอย่าง ( ก. พ.58) 1.3 จัดทำฐานข้อมูลสถานที่ผลิตและข้อมูลการ พิจารณาอนุญาต - สถานที่ผลิตที่เข้าข่าย PGMP ทั้งหมด 85 แห่ง - สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตตามเกณฑ์ PGMP แล้ว จำนวน 60 แห่ง - สถานที่ผลิตที่จะพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ จำนวน 25 แห่ง ที่มายื่นขออนุญาต ( ต. ค.- ธ. ค.57) จำนวน 3 แห่ง สรุป เป้าหมายสถานที่ผลิตที่จะพัฒนาให้ ผ่านเกณฑ์ 22 แห่ง หมายเหตุ ฐานข้อมูลได้จากข้อมูลการขึ้น ทะเบียน OTOP ของพัฒนาชุมชน และการสำรวจของทีม PGMP ระดับ อำเภอ

2. พัฒนาสถานที่ผลิต PGMP ต้นแบบ 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง สถานที่ผลิต PGMP ต้นแบบ จ. พัทลุง ได้แก่ ขนมปั้นขลิบน้องหนึ่ง ต. ชัยบุรี อ. เมือง จ. พัทลุง 1. สถานที่ผลิตมีคะแนนประเมินหมวด 1 และหมวด 2 ร้อยละ 60 ขึ้นไป และ มีความพร้อมในการพัฒนา 2. ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอในการ พัฒนาสถานที่ผลิต จนมี คะแนนประเมินทุกหัวข้อรวมร้อยละ ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต คือ ปั้นขลิบไส้ต่างๆ ได้แก่ ปั้นขลิบไส้ปลา ปั้นขลิบไส้ไก่ ปั้นขลิบไส้เห็ด และปั้นขลิบไส้ต้มยำกุ้ง และ กำลังพัฒนาเพิ่ม ได้แก่ ปั้นขลิบ ไส้หวาน ( ไส้ถั่ว ) ปั้นขลิบไส้หมูหยอง

2. พัฒนาสถานที่ผลิต PGMP ต้นแบบ 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 4. ผลิตภัณฑ์ส่งออกไปตลาดต่างประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ฮ่องกง จีน และ พม่า ปี 2558 กำลังขยายตัวไปยังประเทศเวียตนาม ลาว สิงคโปร์ และมาเลเซีย 5. สถานที่ผลิตมีร้อยละการขยายตัวของยอดขาย ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น โดย - ปี 2555 ยอดขาย 26.4 ล้าน / ปี และปี 2556 ยอดขาย 30 ล้าน / ปี ยอดขายเพิ่มขึ้นร้อยละ ปี 2557 ยอดขาย 36 ล้าน / ปี ยอดขายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง พื้นที่ จ. พัทลุง ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็น ผู้ประกอบการรายย่อย กลุ่มแม่บ้าน และกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน มีทุนน้อยในการพัฒนาสถานที่ ผลิตให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Primary GMP จึง ต้องใช้ระยะเวลาและงบประมาณในการ ดำเนินการ

Primary GMP 7

8

9

10

Primary GMP 11

Primary GMP 12

Primary GMP 13