นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

สถานการณ์ภัยแล้งและการช่วยเหลือผู้ประสบภัย จังหวัดขอนแก่น
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการอบรมสุขภาพจิตในครอบครัว
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
โครงการครอบครัวอบอุ่นชุมชนแข็งแรง โครงการความร่วมมือระหว่าง
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ”
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
8.20 hrs. 2 hrs hrs. กิจกรรมใน 1 วันของคนไทย Sedentary behaviour 2 hrs hrs.
อาหารหลัก 5 หมู่.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
แผนงาน/โครงการ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2554
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำร่อง: บ้านแม่ป๊อก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ มิถุนายน 2552.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่4
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
โรคเบาหวาน ภ.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
 จัดสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งในและนอกบ้าน  ไม่กินอาหารสุกๆดิบๆ และอาหารที่มันมาก  บริโภคผักปลอดสารพิษ ที่ปลูกเอง  ล้างมือก่อน-หลังกินอาหาร/ก่อน-หลังเข้า.
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง ” 1. ประชาชน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น ลดการบริโภคแป้ง ข้าวและผลไม้รส หวาน 2. ประชาชน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น งดการบริโภคน้ำหวาน ขนมหวาน ของ มันและของทอด ในมื้ออาหารเพิ่มขึ้น 3. ประชาชน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น เพิ่มการบริโภคผัก ปลา และธัญพืช เช่น ข้าวกล้อง เผือก มัน ข้าวโพด เมล็ดทานตะวัน เมล็ดฟักทอง ถั่ว งา เป็นต้น

4. หน่วยงาน และหมู่บ้าน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จัดให้มีสถานที่และอุปกรณ์การออกกำลัง กายอย่างพอเพียง สนับสนุนเครื่องเสียง เครื่องอออกกำลังกายกลางแจ้ง และลานกีฬาให้ครบทุกหมู่บ้าน

5. หน่วยงาน และหมู่บ้าน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น มีกิจกรรมการ ออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 5 วัน วันละอย่าง น้อย 30 นาที

6. หน่วยงาน และหมู่บ้าน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จัดให้มี กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันทุกหน่วยงาน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

7. หน่วยงาน และหมู่บ้าน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จัด สิ่งแวดล้อมในหน่วยงานให้เหมาะสม สวยงาม ช่วยผ่อนคลายอารมณ์

8. หน่วยงาน และหมู่บ้าน ในเขต อบต. ศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จัดให้มี กิจกรรมผ่อนคลายอารมณ์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุตำบลศิลา

การสำรวจข้อมูลโดยชั่งน้ำหนักวัดรอบเอวในโครงการภาคี ร่วมใจคนไทยไร้พุง ตำบลศิลา ปี 2551 กิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการ ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุงตำบลศิลา

นายก และรองนายก อบต. ศิลา เข้าร่วมโครงการภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุงตำบลศิลา

ผลการดำเนินงาน ( ก่อนเข้า ร่วมโครงการ )  ประเมินภาวะอ้วนลงพุงในพื้นที่โดยเจ้าหน้าที่ ร่วมกับ อสม. ได้จำนวน 12,115 คน คิดเป็น % พบผู้มีภาวะอ้วนลงพุงรวมทั้งหมด 2,891 คน คิดเป็น 23.8 % โดย กลุ่มเป้าหมาย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มอายุ 1. กลุ่มอายุ 6-15 ปี พบภาวะอ้วนลงพุง 236 คน คิดเป็น 7.3 % ผอม 93 คนคิดเป็น 2.9% ค่อนข้าง ผอม 136 คนคิดเป็น 4.2% สมส่วน 2,755 คนคิดเป็น 85.6% เริ่มอ้วน 122 คนคิดเป็น 3.8% อ้วน 114 คนคิดเป็น 3.5% รวม 3,220 คนรวม 100%

SOS 2 ครั้งที่ 1

2. กลุ่มอายุ 16 ปีขึ้นไป พบภาวะอ้วนลงพุง 2,655 คน คิดเป็น 29.8% ปกติ 6,240 คนคิดเป็น 70.2% อ้วนลง พุง 2,655 คนคิดเป็น 29.8% รวม 8,895 คนคิดเป็น 100%

SOS 1 ครั้งที่ 1

จัดนิทรรศการคนไทยไร้พุงในงานบุปผ ชาติตำบลศิลา วันที่ กุมภาพันธ์ 2552

ภาพกิจกรรมงาน อสม. สัมพันธ์ตำบลศิลา ครั้งที่ 3 20 มีนาคม 2552

ภาพกิจกรรมต่างๆ ในโครงการภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง

ภาพกิจกรรมต่างๆ ในโครงการภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง

ผลการดำเนินงาน ( หลังเข้า ร่วมโครงการ ) 1. กลุ่มอายุ 6-15 ปี พบภาวะอ้วนลง พุง 227 คน คิดเป็น 7 % ผอม 87 คนคิดเป็น 2.7% ค่อนข้าง ผอม 130 คนคิดเป็น 4.0% สมส่วน 2,776 คนคิดเป็น 86.2% เริ่มอ้วน 127 คนคิดเป็น 3.9% อ้วน 100 คนคิดเป็น 3.1% รวม 3,220 คนรวม 100%

SOS 2 ครั้งที่ 2

ตารางเปรียบเทียบ sos 2 ครั้งที่ 1 และ sos 2 ครั้งที่ 2

2. กลุ่มอายุ 16 ปีขึ้นไป พบภาวะอ้วนลงพุง 2,517 คน คิดเป็น 28.3% ปกติ 6,378 คนคิดเป็น 71.7% อ้วนลงพุง 2,517 คนคิดเป็น 28.3% รวม 8,895 คนคิดเป็น 100%

SOS 1 ครั้งที่ 2

ตารางเปรียบเทียบ sos 1 ครั้งที่ 1 และ sos 1 ครั้งที่ 2