นางนุชนารถ สิงห์อินทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลการใช้การบูรณาการการ เรียนรู้ ด้วยสมรรถนะรายวิชาและอัต ลักษณ์ผู้เรียน รายวิชาโครงการ โดย นายหิรัณย์ ศุภวนนิมิต ผลงานวิจัย 2557.
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
การพัฒนาเทคนิคการเรียนสะกดคำของนักเรียนระดับชั้น
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Engineering and Business Administration Technological College ผลงานวิจัย เรื่อง >> การพัฒนาทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษ โดยใช้กระบวนการ เรียนรู้ผ่านโครงงานภาษาอังกฤษของ.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

นางวันเพ็ญ วิวัฒนเจริญ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
วิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจ วิจัยการเรียนการสอน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
งานวิจัย เรื่อง : การศึกษาผลการฝึกงานของนักเรียน
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางนุชนารถ สิงห์อินทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ชื่อผลงาน “การปฏิบัติงานตามกระบวนการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning ของนักเรียนระดับชั้นปวช.1 กลุ่ม A สาขาธุรกิจค้าปลีก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์” นางนุชนารถ สิงห์อินทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

ปัญหาการวิจัย จัดการเรียนการสอนของ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาคี ในสาขางานธุรกิจค้าปลีก ระดับประโยควิชาชีพ แบ่งนักเรียนออกเป็น2 กลุ่ม คือกลุ่ม A และกลุ่ม B การเรียนแบ่งออกเป็น 2 ภาคเรียน ภาคเรียนและ 12 สัปดาห์ และฝึกปฏิบัติอาชีพในสถานประกอบการ 13 สัปดาห์ ทำในปีการศึกษาจะมี 4 Quarter การจัดการเรียนที่เป็นรูปแบบทวิภาคี ร่วมกับสถานประกอบการบริษัท 7-11 นักเรียนต้องประยุกต์ นำประสบการณ์จากสถานประกอบการมาประยุกต์ร่วมกับรายวิชาตามหลักสูตร และนำความรู้จากเนื้อหาการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการฝึกประสบการในสถานประกอบการ ร้าน 7-11 ปัญหาการนำความรู้จากเนื้อหาวิชามาประยุกต์กับการปฏิบัติงานในสถานประกอบการโดยผู้เรียนยังขาดทักษะการประยุกต์สรุปความคิดในเนื้อหาความรู้ในวิชาเพื่อใช้กับการปฏิบัติงานจริง ก่อให้เกิดชิ้นงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ และการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ จึงเล็งเห็นความสำคัญในประเด็นนี้เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนที่นำรูปแบบ Project Based Learning มาเป็นฐานของการจัดการเรียนระบบทวิภาคีที่เน้นการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้บูรณาการร่วมรายวิชาในแต่ละระดับชั้นของแต่ละภาคเรียน นักเรียนและครูยังขาดความเข้าใจในกระบวนการการใช้ Project Based Learning ในการปฏิบัติงานตามกระบวนการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการเรียนการสอนแบบ รูปแบบ Project Based Learning มีผลต่อการปฏิบัติงาน ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

Learning Model: Work Based Learning Competency Based Integrate Based Project Based

การปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ เกณฑ์การประเมิน ครั้งที่ 1 (เค้าโครงย่อโครงงาน) 10 คะแนน ครูประจำวิชาบูรณาการ เกณฑ์การประเมิน ครั้งที่ 2 (รูปเล่ม) 10 คะแนน เกณฑ์การประเมิน ครั้งที่ 3 (ชิ้นงาน) 10 คะแนน ครูผู้สอนค้าปลีก/ครูรายวิชา เกณฑ์การประเมิน ครั้งที่ 4 (การนำเสนอ) 10 คะแนน ครูผู้สอนค้าปลีก/ครูรายวิชา รวม 40 คะแนน กระบวนการปฏิบัติงานการจัดการบูรณาการ 1.คิดชื่อโครงงาน 2.ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3.เขียนโครงร่างบูรณาการ 4.ส่งโครงร่างบูรณาการ 5.จัดทำชิ้นงานประดิษฐ์ 6.จัดทำรูปเล่มบทที่ 1-5 7.ส่งตรวจรูปเล่มและชิ้นงาน 8.เตรียมการนำเสนอโครงงาน 9.นำเสนอโครงงาน รายวิชาที่เกี่ยวข้อง ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 การบัญชีเบื้องต้น 2 การเงินส่วนบุคคล การส่งเสริมการขาย การพัฒนาคุณภาพชีวิต

ด้านนักเรียน   การปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดการเรียนที่เน้น แบบ Project Based Learning ด้านนักเรียน ค่าเฉลี่ย นักเรียน ครู รวม ระดับ คุณภาพ 1 นักเรียนมีความเข้าใจในการปฏิบัติตามเกณฑ์การวัดและประเมินผลในรายวิชาบูรณาการ 3.83 3.61 มาก 2 นักเรียนให้ความตระหนักในการเรียนการสอนที่เน้นบูรณาการร่วมรายวิชา 3.84 3.44 3.81 3 นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อกลุ่มงานในการบูรณาการ 3.89 3.38 3.85 4 นักเรียนได้พัฒนาความรู้เพื่อใช้ในการบูรณาการร่วมรายวิชา 3.88 3.55 3.86 5 นักเรียนมีกระบวนการในการทำงานที่เป็นระบบ 3.50 6 นักเรียนมีการปฏิบัติงาน/การวางแผน/การแก้ปัญหา 3.66 7 นักเรียนมีทักษะในการนำเสนองาน 3.73 3.71 8 นักเรียนได้พัฒนาเป็นนักนวัตกรรม 3.79 9 นักเรียนได้นำองค์ความรู้จาก Project Based Learningในการบูรณาการร่วมไปพัฒนาตนเอง 3.80

ด้านครูผู้สอน การปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดการเรียนที่เน้น   การปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดการเรียนที่เน้น แบบ Project Based Learning ด้านครูผู้สอนซึ่งส่งผลต่อการเรียนของผู้เรียน ค่าเฉลี่ย นักเรียน ครู รวม ระดับ คุณภาพ 1 ครูผู้สอนมีการประชุมชี้แจงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการร่วมรายวิชาเพื่อทำชิ้นงาน 4.08 4.33 4.09 มาก 2 ครูผู้สอนมีการแบ่งรายวิชาบูรณาการร่วมในระดับปวช.1 3.95 3.61 3.91 3 ครูผู้สอนให้ความตระหนักในชั่วโมงการสอนบูรณาการ 3.96 3.88 4 ครูผู้สอนมีการเตรียมการสอนในชั่วโมงบูรณาการ 3.87 4.00 5 ครูที่ปรึกษาในแต่ละกลุ่มบูรณาการให้ความสนใจติดตามงาน 4.03 6 ครูผู้สอนรายวิชาร่วมในการบูรณาการให้คำปรึกษา แนะนำติดตาม ตรวจสอบในแต่ละกลุ่มของผู้เรียน 4.05 3.55 4.01 3.99 3.97

ด้านการวัดและประเมินผล   การปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดการเรียนที่เน้น แบบ Project Based Learning ด้านกระบวนการวัดและประเมินผล ค่าเฉลี่ย นักเรียน ครู รวม ระดับ คุณภาพ 1 การกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลในรายวิชาบูรณาการมีความเหมาะสม 3.84 3.83 มาก 2 การกำหนด/คัดเลือก รายการที่เป็นหัวข้อหลักเพื่อทำชิ้นงานในการบูรณาการในระดับปวช.1 มีความเหมาะสม 3.74 3.88 3.75 3 ครูผู้สอนรายวิชาที่บูรณาการให้คะแน 10 คะแนนอย่างยุติธรรมตามเกณฑ์ 3.98 4.50 4.01 4 ครูที่ปรึกษาบูรณาการให้คะแนน 10 คะแนนอย่างยุติธรรมตามเกณฑ์ 3.92 4.22 5 คณะกรรมการประเมินการนำเสนองาน ให้คำแนะนำและให้คะแนน20 คะแนนอย่างยุติธรรม 4.00 3.99 6 ความพึงพอใจต่อคะแนนรายวิชาบูรณาการร่วม 40 คะแนน ส่งผลสัมฤทธิ์รายวิชาของผู้เรียน 3.80 4.05 3.81 4.86 3.89

การปฎิบัติงานตามกระบวนการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning สรุปผลการวิจัย การปฎิบัติงานตามกระบวนการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning จากการศึกษาพบว่า ด้านปฏิบัติของครูผู้สอนซึ่งส่งผลต่อผู้เรียน ที่มีผลรวมมากที่สุด ได้แก่ ด้านครูผู้สอนมีการประชุมชี้แจงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการร่วมรายวิชาเพื่อทำชิ้นงาน โดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.09 ส่วนที่ต้อง ปรับปรุง ได้แก่ครูผู้สอนมีการเตรียมการสอนในชั่วโมงบูรณาการโดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 ด้านการวัดและประเมินผล ที่มีผลรวมมากที่สุดได้แก่ ครูผู้สอนรายวิชาที่บูรณาการให้คะแนน 10 คะแนนอย่างยุติธรรมตามเกณฑ์ โดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.01 ส่วนที่ต้องปรับปรุง ได้แก่ การกำหนด/การคัดเลือกรายการที่เป็นหัวข้อหลักเพื่อทำชิ้นงานในการบูรณาการในระดับปวช. 1 มีความเหมาะสม โดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75 ด้านการปฏิบัติของผู้เรียน ที่มีผลรวมมากที่สุดได้แก่ นักเรียนได้พัฒนาความรู้เพื่อใช้ในการบูรณาการร่วมรายวิชาโดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.86 ส่วนที่ต้องปรับปรุง ได้แก่ นักเรียนยังขาดทักษะการนำเสนองาน โดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71

ภาพประกอบการนำเสนอผลงานบูรณาการ ปวช. 1 กลุ่ม A 2/2556

ภาพประกอบการนำเสนอผลงานบูรณาการ ปวช. 1 กลุ่ม A 2/2556