เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบสำรวจความชื่นชอบในแนวเพลง นักเรียน สวคท. ชั้นมัธยมปลาย
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
E-Learning.
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การพูด.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Chapter5:Sound (เสียง)
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
Multimedia การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เนื้อหาพิเศษ :การชักจูงโน้มน้าว
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทนำ บทที่ 1.
พุทธวิธีในการสอน.
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
บทที่ 6 การแทรกเสียงและภาพยนตร์
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
Geographic Information System
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
ซอฟต์แวร์.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
องค์ประกอบ และประโยชน์ของมัลติมีเดีย
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
การจัดสเปคคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของบทละคร.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม. 1. นายอาดัม เจะอูมา. 2. นางสาวยาวารียะห์ แยนา. 3
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
หลักการบันทึกเสียง.
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจให้กับผู้ชมงานนำเสนอได้ โดยเนื้อหาบทนี้จะกล่าวถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับออดิโอ เช่น อุปกรณ์สำหรับออดิโอ รูปแบบไฟล์ออดิโอ และซอฟต์แวร์สำหรับออดิโอ เป็นต้น

องค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก จัด และเล่นเสียง แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง ลำโพง และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง

อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ เช่น สามารถควบคุมระดับของเสียง จังหวะ และระงับเสียง ซึ่งการแก้ไขและจัดการแทร็กเสียงต่างๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อแทร็กอื่นๆ

ประเภทของเสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดีย เสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดียมีหลายประเภท ได้แก่ เสียงพูด (Speech) เสียงเพลง (Music) เสียงเอฟเฟ็กต์

สรุป สรุป เสียง(Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชมได้ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับงานมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจแก่ผุ้ชมงานนำเสนอได้

สมาชิก ด.ญ กัลยารัตน์ เต้จ๊ะน้อย เลขที่ 23 ด.ญ กัลยารัตน์ เต้จ๊ะน้อย เลขที่ 23 ด.ญธิดารัตน์ ขันจันแสง เลขที่26 ด.ญ ปฤษนี ขุนทวี เลขที่27 ด.ญ พาริกา ผึ่งผาย เลขที่ 28 ด.ญ ฐิติรัตน์ กันจินะ เลขที่ 39

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ