งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการบันทึกเสียง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการบันทึกเสียง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการบันทึกเสียง

2 1.เสียงพูด เป็นเสียงที่มีความดังไม่มากนัก 50 มิลลิวัตต์ มีความถี่ระหว่าง 100Hz-8000Hz เสียงเพศหญิงจะมีความถี่สูงกว่าเพศชายและในบางเสียงเช่น การออกเสียงตัวอักษรส ซ ช ฉ หรือ s ch sh จะทำให้เกิดความถี่สูงขึ้นมาเรียนกว่า ซิบิแลนซ์(sibilance)มีผลต่อการบันทึกเสียงทำให้เสียงแตกพร่าได้ง่าย

3 2.เสียงดนตรี เป็นเสียงมีความถี่สูงกว่าเสียงพูด คืออยู่ระหว่าง 30Hz-20,000Hz เป็นความถี่ที่หูมนุษย์สามารถรับรู้ได้ เสียงดนตรีแต่ละประเภทจะให้ความถี่แตกต่างกัน จากโครงสร้างของเครื่องดนตรีและลักษณะของเสียงที่ดังออกมา เสียงที่แตกต่างกันนี้ทำให้เรารู้ว่าเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด แม้จะเล่นโน้ตตัวเดียวกันและมีการเล่นที่แตกต่างกันออกไป

4 3.เสียงรบกวน(Noise) มีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ จากอุปกรณ์ทางไฟฟ้าเอง เนื้อเทป หรือแม้แต่เสียงรบกวนในขณะบันทึก ดังนั้นผู้บันทึกจึงจำเป็นที่จะต้องเข้าใจในเรื่องของเสียงรบกวนแต่ละประเภทจึงจะแก้ได้อย่างถูกต้อง

5 3.1 เสียงฮัม(hum) เป็นเสียงรบกวนในความถี่ต่ำ 60Hz-120Hz เกิดขึ้นจาก การรบกวนของมอเตอร์ในเครื่องเล่นต่างๆ สายสัญญาณ หรือการรบกวนของหม้อแปลงไฟฟ้า

6 3. 2 เสียงเทปฮีส(Tape hiss)
3.2 เสียงเทปฮีส(Tape hiss) เป็นเสียงซ่า เหมือนขณะที่หมุนหาคลื่นวิทยุ ลักษณะจะเหมือนเสียงพิงค์นอยส์ (pink noise)มักจะพบในเนื้อ เทป หรือในอุปกรณ์ต่างๆ เครื่องเสียงที่ดี มักจะมีค่าS/N Ratio สูง

7 4.เฮดรูม(head room) ความสามารถในการรับสัญญาณหรือบันทึกได้สูงสุดของเครื่องมือต่างๆ ก่อนจะเกิดเสียงที่แตกพร่า (Distrotion) สามารถปรับเลือกได้ ว่าจะให้มีค่าในการรับที่เท่าไหร่ เช่น 110dB หากมีเสียงเข้ามาที่ 120dB เสียงจะแตก ดังนั้นจะต้องปรับไปที่ 120 dB

8 5.เฟสของเสียง (Phase) รูปแบบการเคลื่อนที่ของสัญญาณเสียง 2 สัญญาณ สเตอริโอที่ออกมาพร้อมกัน หากตรงกันและพร้อมกันจะเกิดสัญญาณที่แรงขึ้น หากกลับเฟสกัน ในเวลาเดียวกัน เสียงจะหายไป และกลับเฟสกันในเวลาต่างกันจะทำให้เสียงหายไปในบางช่วง

9 6. เสียงแตกพร่า(Distortion)
6.เสียงแตกพร่า(Distortion) เป็นลักษณะการบันทึกที่เสียงเกินจากที่กำหนดจะทำให้เสียงแตก ซึ่งดูได้จาก VU miter ไม่สามารพแก้ไขได้ หากเสียงที่ต่ำกว่า เฮดรูมมาก จะไปเข้าใกล้นอยส์ ทำให้เสียงมีคุณภาพแย่มาก

10 แนวคิดในการออกแบบห้องบันทึกเสียง ปรับแต่งห้องTurning a Room

11 ปรับเสียง (sound proofing)

12 จุดรับฟัง(Sweet spot)

13 การสะท้อนและดูดซับของเสียง(live & dead)
การสะท้อนและดูดซับของเสียง(live & dead) ในยุคก่อน การบันทึกเสียงมักจะให้เป็นห้องเก็บเสียง(dead room) แต่ทำให้ได้เสียงที่ไม่เป็นธรรมชาติ ดังนั้นจึงมีการนำวัสดุหรืออุปกรณ์ต่างๆเข้ามาใช้ในการจัดห้อง เพื่อให้เหมือนกับสภาพเสียงต่างเช่น ในห้องประชุมใหญ่ หรือในสตูดิโอซึ่งผนังห้องที่ต้องการให้เกิดเสียงสะท้อน เรียกว่า reflective หรือ live or wet-sounding room หากผนังต้องการให้ซับเสียงมากเรียกว่า absorbent หรือ dead or dry


ดาวน์โหลด ppt หลักการบันทึกเสียง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google