งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
Ytjthththtyht ht Hthth Th T Ht H Tht Ttttttt

2 เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจให้กับผู้ชมงานนำเสนอได้ โดยเนื้อหาบทนี้จะกล่าวถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับออดิโอ เช่น อุปกรณ์สำหรับออดิโอ รูปแบบไฟล์ออดิโอ และซอฟต์แวร์สำหรับออดิโอ

3 ทำความรู้จักกับเสียง (Sound)
เสียง (Sound) อยู่ในรูปแบบของพลังงาน (Energy) เหมือนกับพลังงานความร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light) ที่สามารถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่นที่ประกอบด้วยแอมพลิจูด

4 องค์ประกอบของระบบเสียง
การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer)

5 ไมโครโฟน (Microphone)
.ไดนามิคไมโครโฟน (Dynamic Microphone) .ไดนามิกไมโครโฟน (Dynamic Microphone) คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน (Condenser Microphone) ไมโครโฟนชนิดรับเสียงรอบทิศทาง (Omni Directional Microphone) ไมโครโฟนชนิดรับสียงแบบสองทิศทาง (Bi Directional Microphone)

6 ไมโครโฟนชนิดรับเสียงแบบทิศทางเดียว (Uni Directional Microphone)
ลำโพงแบบไดนามิก (Dynamic Speaker) ลำโพงชนิดเสียงทุ้ม (Woofer) และลำโพงชนิดเสียงแหลม (Tweeter)

7 รูปแบบไฟล์เสียง การจัดเก็บไฟล์เสียงสามารถทำได้หลายรูปแบบ โดยรูปแบบของการบีบอัดไฟล์เสียงจะมี 2 วิธี คือ “Lossless Compression” เป็นไฟล์เสียงที่รักษาข้อมูลไว้อย่างครบถ้วน ไม่มีการสูญหายของข้อมูล ไฟล์ชนิดนี้จะมีขนาดใหญ่ แต่คุณภาพเสียงดี ส่วนอีกวิธี คือ Lossy Compression วิธีนี้จะตัดข้อมูลเสียงบางส่วนออกไป ทำให้รายละเอียดของเสียงหายไป แต่ไฟล์จะมีขนาดเล็ก โดยไฟล์เสียงแต่ละชนิดจะมีรายละเอียด รูปแบบการบีบอัดข้อมูล และลักษณะการนำไปใช้งานที่ต่างกัน

8 ขั้นตอนการนำเสียงมาใช้งาน
1.ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับงานที่ออกแบบไว้ เช่น เพลง เสียงพิเศษประกอบการนำเสนอ หรือเสียงพูด 2.เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดตำแหน่งหรือเวลาในการแสดงเสียงให้เหมาะสมด้วย 3.ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบมิดี้ หรือใช้เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่ 4.พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อสำเร็จรูปมาใช้งานจึงจะเหมาะสม

9 5.นำไฟล์เสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัลติมิเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับงานมัลติมิเดียที่ทำการผลิต 6.ทดสอบการทำงานของเสียงให้มั่นใจว่า เสียงที่นำเสนอมีความสัมพันธ์กับภาพในงานมัลติมเดียที่ผลิตขึ้น หากไม่สัมพันธ์กันต้องทำตามขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 ซ้ำแล้วให้ทดสอบใหม่จนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

10 สรุป เสียง(Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชมได้ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับงานมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจแก่ผุ้ชมงานนำเสนอได้

11 รายชื้อกลุ่ม 1.ด.ช.กิตติกวิน เชื้อเมืองพาน เลขที่ 4
1.ด.ช.กิตติกวิน เชื้อเมืองพาน เลขที่ 4 2.ด.ช.พัธลพล พุ้มพวง เลขที่ 2 3.ด.ช.กิตติธัช บุญเป็ง เลขที่ 5 4.ด.ช.พีรณัฐ ชุ่มอูป เลขที 19


ดาวน์โหลด ppt เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google