๒ ปี...
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๑. เพิ่มศักยภาพและขยาย บริการปฐมภูมิ ฯ ๔. สร้างการ ยอมรับคุณค่า ศักดิ์ศรี และ เอกลักษณ์ ๕. สนับสนุน การวิจัย และพัฒนา และพัฒนา ๓. ปรับปรุงระบบการผลิต พัฒนา และระบบ บริหารจัดการบุคลากร บริหารจัดการบุคลากร ๒. ปรับปรุงการ บริหารจัดการ
งบลงทุนเพื่อการพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิ ปี ๒๕๔๙ = ๑, ๐๖๒ ลบ. ปี ๒๕๕๐ = ๑, ๐๙๔ ลบ. ปี ๒๕๕๑ = ๑, ๐๐๒ ลบ.
PRODUCTIVITY ปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับปรุงการ บริหารจัดการเพื่อ สนับสนุนระบบ บริการปฐมภูมิ อย่างมี ประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มศักยภาพและ ขยายบริการปฐมภูมิ ให้เข้าถึงชุมชน โดย ความร่วมมือจากทุก ภาคส่วน อย่าง สอดคล้องกับบริบท CMU Tract A ๘๙ แห่ง Tract B ๑๒๘ แห่ง Tract C ๙ จังหวัด ครุภัณฑ์ปฐมภูมิทุกจังหวัด ๔๐๐ลบ. บริการประทับใจ ไร้ แออัด พัฒนา เครือข่าย ๑๓ แห่ง แพร่ พิษณุโลก นครสวรรค์ อยุธยา ราชบุรี ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา ศรีษะเกษ ร้อยเอ็ดกาฬสินธ์ นครศรีธรรมราช ( ๒แห่ง ) สงขลา พัฒนาคุณภาพบริการ ปฐมภูมิ ( จังหวัด ต้นแบบ ) ๑๓จังหวัด พัฒนาระบบ ติดตาม ประเมินผลระดับ จังหวัดและเขต พื้นที่ ระบบการเงินการ คลังเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพ
หลักสูตรแพทยศาสตร์แนวใหม่ แพทย์ FM แนวใหม่ และ In-service training สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต ๒ หลักสูตร พยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปและเวชปฏิบัติครอบครัว ๒ หลักสูตร เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการ ปฐมภูมิ ๓ หลักสูตร CUP Manager และ District Health Manager ๒ หลักสูตร สาธารณสุขครอบครัว ๑ หลักสูตร หลักสูตรเชิงสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ๒ หลักสูตร หลักสูตรบูรณาการงานทันตสาธารณสุขและเวช ศาสตร์ครอบครัว ๑ หลักสูตร หลักสูตรระยะสั้นสำหรับผู้ปฏิบัติงานปฐมภูมิ ๑ หลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร ยุทธศาสตร์ที่ 3 ปรับปรุงระบบการ ผลิต พัฒนา และ ระบบบริหารจัดการ บุคลากร
ยุทธศาสตร์ที่ 5 สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาระบบ บริการ ปฐมภูมิ สวสส. : เสริมศักยภาพ PCU แก้ปัญหาของชุมชน, รณรงค์ค่านิยม Self care ของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างการยอมรับ คุณค่า ศักดิ์ศรี และ เอกลักษณ์ระบบ บริการปฐมภูมิ สวสส. : กระบวนการสร้าง แนว ร่วมจากวิชาชีพ, องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น สวสส. : กระบวนการพัฒนา แนวคิด อุดมการณ์ ฟื้นฟู อุดมคติ สื่อสารและประชาสัมพันธ์ : เอกลักษณ์และคุณค่า, สร้างการรับรู้คุณค่าการ ทำงาน, ให้กำลังใจผู้ ให้บริการ มข.( สวรส. อีสาน ), LDI: พัฒนา บุคลากรขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น สวรส. : วิจัยและพัฒนาการ จัดบริการปฐมภูมิ สภาการพยาบาล : พัฒนา หลักสูตร Care givers สพช. : นวตกรรม การจัดบริการ สุขภาพชุมชน 800 แห่ง
ศูนย์แพทย์ชุมชน (CMU) 87 แห่ง ศูนย์แพทย์ชุมชนระยะเตรียมการ 128 แห่ง พัฒนาบริการปฐมภูมิในพื้นที่พิเศษ 9 จังหวัด การพัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิเพื่อเพิ่มคุณภาพบริการและการเข้าถึง
อบรมแพทย์ที่ปฏิบัติงานใน CMU จำนวน 173 คน การจัดประชุมเครือข่ายแพทย์ด้านเวช ศาสตร์ครอบครัว การจัด National Forum เพื่อพัฒนา หลักสูตรแพทย์เพื่อ ปฏิบัติงานปฐม ภูมิ การฝึกอบรม ประชุมเครือข่าย
ก รอบงบลงทุนพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิ ปี ๒๕๕๑
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระยะ 3 ปี ปี 2551ปี 2552ปี 2553 ระบบ บริการ ระบบ สร้างเสริม แรงจูงใจ จ่ายเป็นค่าตอบแทน บุคลากร (300 ลบ.) ระบบ สนับสนุน จ่าย Incentives โดยเพิ่มงบ P4P ให้กับ PCU (600 ลบ.)(940 ลบ.) (730 ลบ.) รพท./รพศปิดWalk-in OPD PCU รับ OP โดยตรงเอง รพช.(CUP) จัดเครือข่าย PCU(FM/NP) Tract A,B/C PCU รับ OP ระบบส่งต่อ ผลิต/พัฒนากำลังคน ระบบคุณภาพ บริหารจัดการ/กำกับ/ประเมินผล สอ./PCU เพิ่มศักยภาพตามเกณฑ์ (100 ลบ.)
“รักษาให้หาย ทำได้บาง คราว ช่วยให้ทุเลา ทำได้บ่อยกว่า แต่การปลอบใจให้สบายขึ้น นั้น ทำได้ตลอดกาล” ศ. นพ. ฝน แสงสิงแก้ว
เป้าหมายการพัฒนาศักยภาพและขยาย บริการปฐมภูมิระยะ 3 ปี ปี 51 (600 ลบ.) ปี 52 (940 ลบ.) ปี 53 (730 ลบ.) รพท./รพศปิด Walk-in OPD +PCUรับOP (แห่งละ10 ลบ.) 15 แห่ง + จว. ที่ พร้อม (15 แห่ง ) 26 แห่ง รพ.รับ ผ.ป.นัด ส่งต่อ ฉุกเฉิน ภายใน 1-3 ปี PCUรับOP โดยตรงเอง 160 ลบ. 260 ลบ. 200 ลบ. 26 แห่ง สอ./PCU เพิ่มศักยภาพ ผ่านเกณฑ์ฯ 80 % 200 ลบ. PCU/สอ.ขนาด ใหญ่/สอ.ทั่วไป 60% ตาม Coverage Plan 200 ลบ. รพช.(CUP) จัดเครือข่าย PCU(FM/NP) Tract A,B/C 134 (เดิม) + 50 แห่ง 100 แห่ง รับ/บริหารOPเองภายใน 1-2 ปี 240 ลบ. 480 ลบ. 330 ลบ. CMU A 110 (เดิม) แห่ง CMU B 75 CUP พัฒนา เครือข่าย 1000 แห่ง 75 CUP (เดิม) +100 CUP 100 CUP