กลุ่มที่ 11.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(District Health System)
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ความหมายและกระบวนการ
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
จังหวัดนครปฐม.
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 งบประมาณ รอบแรก ปี 52(2 แสนบาท / แห่ง ) ยังได้รับไม่ครบ  งบประมาณ ปี ไม่เป็นไปตามแผน และไม่ชัดเจน  งบประมาณที่ได้รับไม่ตรงและไม่สอดคล้องกับความต้องการ.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 11

กระบวนการ/ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ.สต. 1.ผู้นิเทศมีจำนวนมากในบางเขต ทำให้การนิเทศงานซ้ำซ้อน 2.แบบฟอร์มเกณฑ์ประเมิน รพ.สต. ไม่ชัดเจน ขาดการกำหนดนิยาม คำจำกัดความในบางข้อ เช่น รร.อสม. , ขวัญกำลังใจ ซึ่งผู้นิเทศอธิบายไม่ได้ รวมทั้งการสรุปผลตามเกณฑ์ขาดความชัดเจน 3.นิเทศงานตามเกณฑ์แบบ Check list 4.ผู้นิเทศฝากงานนิเทศจากทีม ทำให้การนิเทศงานขาดความเข้าใจที่ถูกต้อง

กระบวนการ/ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ.สต. 1.ควรมีการพัฒนาผู้นิเทศระดับเขต และเสร้างความเข้าใจการนิเทศงานให้แก่ผู้รับการนิเทศ เพื่อให้สื่อสารได้ตรงกัน 2.ควรมีการบูรณาการงานและเชื่อมโยงข้อมูลภายในจังหวัดเพื่อรับการนิเทศ 3.ทีมนิเทศ บูรณาการงานในทีม และควรให้ผลการนิเทศแก่ผู้รับผิดชอบรับทราบ

1.ไม่สอดคล้องกับพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดไว้ การจัดสรรงบประมาณ 1.ไม่สอดคล้องกับพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดไว้ 2.เป้าหมายปรับเปลี่ยนบ่อย และเปลี่ยนแบบฟอร์มบ่อย 3.ขอข้อมูลเร่งด่วนและกระชั้นชิดในการจัดสรรงบ ทำให้จังหวัดวางแผนจัดสรรได้ไม่ครอบคลุม 4.การจัดสรรขาดการแจ้งรายละเอียดการนำไปใช้ 5.การจัดสรรงบจาก สปสช. ลงพื้นที่โดยตรง ไม่ผ่าน สสจ. ทำให้เกิดปัญหาในการติดตามงานภายหลัง เช่น CUP ละล้าน 6.จังหวัดไม่มีการจัดสรรงบเพิ่ม นอกจากกระทรวงกำหนด 7. CUP ขาดการสนับสนุน สอ.อย่างต่อเนื่อง 8.การจัดสรรงบตามขนาด สอ. Fix เกินไป ไม่สามารถเกลี่ยได้

การจัดสรรงบประมาณ ข้อเสนอแนะ 1.กระทรวงฯ ควรมีข้อมูลการจัดสรรงบประมาณทุกแผนงาน/โครงการ จาก สปสช. 2.ปรับปรุงระยะเวลาการจัดสรรงบประมาณให้มีความแน่นอนและชัดเจน 3.หน่วยงานระดับบนควรบูรณาการข้อมูลสาธารณสุขระหว่างหน่วยงาน

การเสริมพลังชุมชนเพื่อให้เกิด Self Care 1.เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ต้องมีความรู้ ความเข้าใจวัฒนธรรม วิถีชีวิต และข้อมูลปัญหาในชุมชน 2.สำรวจ วิเคราะห์ สรุปข้อมูล โดยชุมชนมีส่วนร่วม 3.ส่งและสะท้อนข้อมูลกลับคืนให้ชุมชนรับทราบ 4.สร้าง Empowerment ให้ชุมชน เช่น กระบวนการ AIC , เผยแพร่นวัตกรรมตัวอย่างที่ดี 5.ใช้ตัวอย่างปัญหาของชุมชนด้านสุขภาพ ในการแก้ปัญหา/พัฒนา 6.ใช้ SRM เป็นเครื่องมือดำเนินงานอย่างเหมาะสม

สวัสดี