ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิชานิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
ผู้วิจัย : นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติ ด้านความรับผิดชอบของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา การบัญชีเบื้องต้น 2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1 และ ห้อง 2 โดยใช้เทคนิคการสอนการสอนแบบระดมพลังสมอง.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การสร้างสื่อการสอนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การ สร้างงานนำเสนอและ การจัดการข้อความ ในการพัฒนาการเรียนรู้ รายวิชาคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชีพชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ ชื่อผู้วิจัย อาจารย์เยาวเรศ อนันต์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน สถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา

ปัญหาการวิจัย เนื่องจากนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ ส่วนใหญ่จะขาดแรงจูงใจในการเรียน และไม่กล้าที่จะซักถามผู้สอนหรือเพื่อน ซึ่งผู้สอนมีความประสงค์จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนและแก้ปัญหาการสอบไม่ผ่านเกณฑ์ของนักศึกษา รวมถึงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาให้ดีขึ้น

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ปัญหาการสอบไม่ผ่านเกณฑ์ของนักศึกษา โดยวิธีการเรียนการสอนแบบร่วมมือ 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่ม

ตารางแสดงคะแนนทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียนแบบร่วมมือของนักศึกษาระดับชั้นปวส.1/2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ รายวิชา โครงสร้างข้อมูลอัลกอริทึ่ม ภาคเรียนที่ 1/2555

ผลการวิเคราะห์ จากตารางแสดงให้เห็นว่า นักศึกษา มีคะแนนทดสอบผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 71.43 จากเดิม ร้อยละ 21.43 แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนแบบร่วมมือ สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาดีขึ้น

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่ม ของนักศึกษาปวส.1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม พบว่าการทำแบบทดสอบก่อนเรียน คือ 6.43 คิดเป็นร้อยละ 21.43 โดยใช้วิธีแบบร่วมมือ คิดค่าเฉลี่ยเป็น 12.71 คิดเป็นร้อยละ 71.43 จะเห็นได้ว่านักศึกษา มีการพัฒนาการทำงานมากขึ้นคิดค่าเฉลี่ยเป็น 6.28 คิดเป็นร้อยละ 50

อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่ม เรื่อง สแตกและคิว ของนักศึกษาปวส.1/2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ สามารถอภิปรายผลได้ดังต่อไปนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่ม เรื่องสแตกและคิวของนักศึกษาปวส.1/2 ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนมากกว่าร้อยละ 60 ได้แก่ 85.71

อภิปรายผลการวิจัย(ต่อ) การที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สแตกและคิว ของนักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผู้วิจัยมีความเห็นว่าวิธีการเรียนที่มีเทคนิควิธีการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความสามารถของผู้เรียน มีการสร้างบรรยากาศที่แปลกใหม่ในห้องเรียน ช่วยเหลือผู้เรียนที่อ่อนซึ่งโดยทั่วไปมักจะไม่ค่อยกล้าถามผู้สอน เพราะเกรงว่าจะถูกดุหรืออายเพื่อนว่าจะเป็นตัวตลก แต่ในกิจกรรมการจัดเรียนแบบร่วมมือนี้เปิดโอกาสให้นักศึกษาที่เรียนอ่อนสามารถถามเพื่อนที่เรียนเก่งกว่าได้ ขณะเดียวกันนักศึกษาที่เรียนเก่งกว่า รู้สึกเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกันที่จะต้องช่วยเพื่อนให้เข้าใจบทเรียนมากขึ้น ผลจากการเรียนแบบร่วมมือจึงทำให้นักศึกษาแต่ละคนมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน จนสามารถมีความรู้เพิ่มขึ้นได้ด้วยตนเองส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น