สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

Charoen pokphand foods pcl.
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
จังหวัดภาคใต้ชายแดน 9.1 (ยะลา)
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
โครงการโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
กลยุทธ์ = การพัฒนา + การ ขยายธุรกิจ เรารู้จักตัวเรามากน้อยแค่ใหน ? สินค้าเรา กลุ่มใหน ? เกรดใหน ? ขนาดใหน ? ตลาดคืออะไร ? ตลาดของเราอยู่ที่ใหน ? แบบใหน.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
โครงสร้างสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดระนอง
วิสัยทัศน์ทางการค้า ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวครบวงจร.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ทิศทางในการพัฒนาในเขตปฏิรูปที่ดิน ควรมีแนวทางอย่างไร 1.กลไก 2.รูปแบบการพัฒนา - วิสาหกิจชุมชน - นิคมการเกษตร / นิคมเศรษฐกิจพอเพียง - อื่นๆ หัวข้อสัมมนากลุ่มที่
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14

คำถามข้อที่ 2 กรมปศุสัตว์มีนโยบายในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ ( แพะ ) เพื่อขยายตลาด ด้านการบริโภค ท่านมีแนวทางการส่งเสริม / ขับเคลื่อนการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเนื้อแพะ อย่างไร

คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 1. จัดตั้งโรงฆ่าชุมชน เพื่อเพิ่ม supply เนื้อแพะสู่ ตลาด ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - อปท. - สนง. ปศจ. ( กลุ่มพัฒนามาตรฐานสินค้า ปศุสัตว์ ) - กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ

คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 2. ประชาสัมพันธ์การบริโภคเนื้อแพะ เพื่อเพิ่ม demand ได้แก่ จัดนิทรรศการในสถานศึกษา ศูนย์กลางชุมชน เพื่อปรับทัศนคติไปในทิศทาง ที่ดีขึ้นต่อการบริโภคเนื้อแพะ การจัดการ แข่งขันการทำเมนูแพะ รวมถึงการแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากแพะ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - สนง. ปศจ. - ผู้นำชุมชน - สถานศึกษา ศูนย์กลางชุมชน

คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 3. ส่งเสริมการเลี้ยงแพะ แบบลดต้นทุน เพื่อให้ ราคาต่ำลง ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้ ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ได้แก่ - สนง. ปศจ. - สนง. ปศข. - ศวป.

คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 4. จัดการอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากแพะ ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้าน

คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการขับเคลื่อนการบริโภค เนื้อแพะ 1. ขยายตลาดการจำหน่ายเนื้อแพะและผลิตภัณฑ์ ทั้งภายใน และภายนอกชุมชน ในรูปแบบของ การจำหน่ายเนื้อแพะ ( เขียง ) และ ร้านค้า ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากแพะ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - อปท. - จังหวัด

คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการขับเคลื่อนการบริโภค เนื้อแพะ 2. ทำผลิตภัณฑ์ สำเร็จรูป และกึ่งสำเร็จรูป ( แปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าเพื่อเพิ่มโอกาสทาง การตลาด ) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - สถาบันการศึกษา - กลุ่มวิสาหกิจชุมชน - สสส.

คำถามข้อที่ 5. จังหวัดของท่านมีแนวทางในการจัดทำ ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการค้าสินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC อย่างไร และมีแนวทางการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติอย่างไร

คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 1. ผลิตสินค้าปศุสัตว์ภายใต้มาตรฐานสากล ( GMP, GAP, ฮาลาล ) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์

คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 2. สร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - สถาบันการศึกษา - สสส.

คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 3. จัดกิจกรรม Road Show เพื่อเผยแพร่สินค้า ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ให้เป็นที่รู้จัก ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - กรมส่งเสริมการส่งออก

คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 4. ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยงเชิงเกษตรอย่าง ครบวงจร ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 5. วางแผนการดำเนินการ โครงการ หนึ่งศูนย์ฯ หนึ่งผลิตภัณฑ์ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ศวป. ทุกแห่ง

คำตอบข้อที่ 5. แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่ การปฏิบัติขยายโอกาสการค้าสินค้า ปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 1. จัดทำโครงการ และงบประมาณ 2. กรมปศุสัตว์ทำ MOU กับสถานศึกษา 3. กรมปศุสัตว์ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดแสดงสินค้า 4. ททท. ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว และกรมปศุ สัตว์ทำ MOU กับเกษตรกรเจ้าของฟาร์ม หรือ ผลิตภัณฑ์ 5. ศวป. จัดทำผลิตภัณฑ์ประจำศูนย์ฯ