เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

โครงการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนระยะสั้น ณ ม.ชนชาติกวางสี
โครงการจัดตั้งภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
การเพิ่มคำ.
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
ความหมายของการโน้มน้าวใจ
สถาบันการศึกษา.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
บทนำ บทที่ 1.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
ข้อเสนอแนะ 1.ภาษาไทย สาระการฟัง การดูและการพูด มฐ. ท3.1 สาระการฟัง การดูและการพูด มฐ. ท3.1 สาระหลักการใช้ภาษา มฐ. ท 4.1 สาระวรรณคดีและวรรณกรรม.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
หลักสูตร ”การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ”
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การพูด.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การพัฒนาตนเอง.
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การนำเสนอสารด้วยวาจา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ วิชาภาษาไทย ท42101 เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ครูเชี่ยวชาญ คศ.4

การใช้ภาษาในการพูด การพูดเป็นทักษะที่จำเป็น การใช้ภาษาในการพูดต้องคำนึงถึงโอกาสของการพูดนั้น ๆ เช่น การพูดอย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ การฝึกทักษะการพูดจะทำให้เกิดความชำนาญและมีความมั่นใจ

ความหมายของการพูด การพูดหมายถึงการสื่อความหมายโดยใช้เสียง ภาษา อากัปกิริยาเพื่อถ่ายทอดความประสงค์ ความรู้ ความคิด และความรู้สึกไปสู่ผู้ฟัง

ปากเป็นเอกเลขเป็นโทโบราณว่า หนังสือตรีมีปัญญา ไม่เสียหาย ถึงรู้มากไม่มีปากลำบากตาย มีอุบายพูดไม่เป็นเห็นป่วยการ

บทร้อยกรองนี้ แสดงความสำคัญของการพูด คือ การพูดเป็นทักษะที่จำเป็น ต้องใช้ในชีวิตประจำวันควบคู่กับการฟัง การพูดเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์

การพูดต้องมีความรู้และแสดงออกอย่างเหมาะสม นอกจากบทร้อยกรองนี้แล้ว ยังมีคำพังเพย สุภาษิตและบทร้อยกรองอื่น ๆ กล่าวถึงความสำคัญของการพูดอย่างมากมาย

ประเภทของการพูด การพูดระหว่างบุคคล การพูดระหว่างกลุ่ม การพูดต่อชุมชน 1. การพูดระหว่างบุคคล 2. การพูดระหว่างกลุ่ม 3. การพูดต่อชุมชน

การทักทาย การปราศรัย การแนะนำตนเอง การสัมมนา การพูดระหว่างบุคคล 1. การทักทาย 2. การปราศรัย 3. การแนะนำตนเอง 4. การสัมมนา

การพูดที่ดี ต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ภาษาเป็นอย่างดี จึงจะประสบความสำเร็จ การศึกษาวิวัฒนาการภาษาไทย เพื่อใช้ถ้อยคำ สำนวนโวหารให้ถูกต้องเหมาะสม จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง

สิ่งสำคัญ ต้องทำความเข้าใจว่าภาษา มีการเปลี่ยนแปลง หยิบยืมซึ่งกันและกัน ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทยมีจำนวนมาก เนื่องด้วย อิทธิพลด้านการศึกษา ศาสนา ภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เป็นต้น

การยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย ทำให้ภาษาไทยมีคำใช้มากขึ้นและสื่อสารได้กว้างขวางมากขึ้น วิธีการที่ทำให้คำต่าง ๆ ผสมผสานกับภาษาไทยอย่างกลมกลืน ถือเป็นความเจริญงอกงามของภาษาไทย

สรุปได้ว่าภาษาเหมือนสิ่งมีชีวิต ย่อมมีการเปลี่ยนแปลง และการเปลี่ยนแปลงทำให้ภาษาไทยส่วนใหญ่เป็นภาษา คำโดดพยางค์เดียว มีพยางค์เพิ่มขึ้น รวมทั้งมีคำหลายพยางค์มากขึ้น

ธรรมชาติของภาษา ย่อมมีการแลก เปลี่ยน หยิบยืมทางภาษา เพราะ เหตุว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มีการ ติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน ทั้งในเชิงธุรกิจระหว่างประเทศ เชิงสังคมและวัฒนธรรม

เครื่องมือที่สำคัญในการสื่อสารได้แก่ ภาษา เพราะเป็นสื่อกลาง เพื่อให้เข้าใจกัน การใช้ภาษาโดยเฉพาะการพูดจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วยกัน

การรับคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย มี 3 ลักษณะ คือ 1. รับเฉพาะคำที่จำเป็นไม่มีใช้ในภาษาไทย 2. รับคำมาเสริมแต่งให้ไพเราะสละสลวย โดยเฉพาะคำประพันธ์หรือภาษาเฉพาะกิจสาขาใดสาขาหนึ่ง

3. รับคำมาเกินความจำเป็น เช่น คำที่มีใช้อยู่แล้วในภาษาไทย การใช้คำภาษาต่างประเทศปะปนภาษาไทย เป็นต้น

สาเหตุภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย เช่น อิทธิพลด้านภูมิศาสตร์ ได้แก่ อาณาเขตติดต่อกัน เห็นได้จากภาษาจีน พม่า เขมร ลาว มาเลเซีย เป็นต้น

อิทธิพลด้านศาสนา เช่น ภาษาบาลีเข้ามาทางพุทธศาสนา นิกายหินยาน ภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์ รวมทั้งอิทธิพลทางภาษาและวรรณคดี เช่น ภาษาชวา บาลี สันสกฤตและอังกฤษ เป็นต้น