วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
Advertisements

การวัดและประเมินผลผู้เรียน
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา

จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โดย นางสาวพอใจ สาธุการ
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โทรศัพท์ อาจารย์สุเทพ โคฮุด โรงเรียนดรุณาราชบุรีพณิชยการ โทรศัพท์ 081 -
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
การแก้ไขพฤติกรรมการแต่งกาย
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การสร้างแรงจูงใจในการส่งงาน โดยใช้การเสริมแรงด้วยการใช้เบี้ยอัตถกร สะสมคะแนนของผู้เรียนระดับ ปวช.1/1 แผนกการโรงแรม โดย ครูศิริมา เที่ยงสาย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ การศึกษาผลของการเสริมแรงทางบวก โดยใช้กิจกรรมดาวแห่งความดี เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอันพึงประสงค์ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช. และ ปวส. โรงเรียนพณิชยการเชียงใหม่ นางสินีนาถ ศรีพงษ์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ นักศึกษาระดับ ปวช. ที่เข้ามาศึกษาในโรงเรียนพณิชยการเชียงใหม่ทุกปีการศึกษา พบว่าส่วนใหญ่มีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะมีบทลงโทษแก่นักศึกษาที่มีพฤติกรรมดังกล่าว แต่ก็ยังไม่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักศึกษาได้ ทางแผนกวิชาพื้นฐานได้ศึกษาพฤติกรรมของนักศึกษาดังกล่าว พบว่า สาเหตุเกิดจากทางโรงเรียนขาดการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมแก่นักศึกษาในเชิงบวกและเป็นรูปธรรม ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการเสริมแรงเชิงบวกโดยใช้สมุดดาวแห่งความดี เป็นแรงกระตุ้นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษาในหลาย ๆ ด้าน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการเสริมแรงทางบวก โดยใช้กิจกรรมดาวแห่งความดี เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอันพึงประสงค์ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช. และ ปวส. โรงเรียนพณิชยการเชียงใหม่

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักศึกษาระดับ ปวช. จำนวน 417 คน และนักศึกษาระดับ ปวส. จำนวน 236 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ สมุดสติ๊กเกอร์ดาวแห่งความดี และแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเสริมแรงทางบวก โดยใช้สมุดสติ๊กเกอร์ดาวแห่งความดี

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบบันทึกสถิติการสะสมสติ๊กเกอร์ดาวแห่งความดีเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เก็บรวบรวมสมุดดาวแห่งความดีทุกระดับชั้นในสัปดาห์ที่ 13 บันทึกจำนวนสติ๊กเกอร์ในแต่ละด้านลงในแบบบันทึกสถิติของนักศึกษารายบุคคล แจกแบบบันทึกสถิติให้อาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรับทราบผลการประเมินและแจ้งนักศึกษา นักศึกษาที่ไม่ผ่านการประเมิน ให้เข้าทำกิจกรรมซ่อมเสริม ตรวจสอบการซ่อมเสริมของนักศึกษา ใช้แบบบันทึกคะแนนสมุดดาวแห่งความดี แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดกิจกรรม ใช้แบบสอบถามประเมินผลความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการจัดกิจกรรม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละเปรียบเทียบผลการพัฒนาพฤติกรรมของนักศึกษาแต่ละด้านในแต่ละระดับชั้น

ความคิดเห็นของนักศึกษา สรุปผลการวิจัย ความคิดเห็นของนักศึกษา จากการสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่ากิจกรรมดังกล่าวมีประโยชน์ คือส่งเสริมให้นักศึกษามีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และมาโรงเรียนทันเวลามากขึ้น ร้อยละ 75.4 ทำให้นักศึกษามีความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นที่ยอมรับต่อสังคม คิดเป็นร้อยละ 72.0 ส่งเสริมให้นักศึกษามีความอ่อนน้อมถ่อมตน คิดเป็นร้อยละ 70.8 ปลูกฝังให้นักศึกษาเสียสละ ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยจิตอาสา ร้อยละ 70.2 ส่งเสริมให้นักศึกษาแต่งกายถูกระเบียบ ร้อยละ 70 และปลูกฝังให้นักศึกษาเป็นผู้มีความซื่อสัตย์ต่อการกระทำของตนเอง ร้อยละ 67.0 และนักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมดาวแห่งความดี ร้อยละ 58.5

ความคิดเห็นของบุคลากร สรุปผลการวิจัย ความคิดเห็นของบุคลากร จากการสอบถามอาจารย์ผู้สอน พบว่า อาจารย์ผู้สอนมีความเห็นว่าหลังจากใช้กิจกรรมดาวแห่งความดี นักศึกษามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคือ นักศึกษามีความอ่อนน้อม ถ่อมตน รู้รักทำความเคารพมากขึ้น ร้อยละ 72.8 นักศึกษาแต่งกายเรียบร้อยมากขึ้น ร้อยละ 71.2 จำนวนนักศึกษามาสายลดลง ร้อยละ 70 นักศึกษามีน้ำใจ รู้จักเสียสละ ช่วยเหลือผู้อื่นมากขึ้น ร้อยละ 69.4 และมีความเห็นว่าสมุดดาวแห่งความดี ช่วยปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีให้กับนักศึกษาในการประพฤติ ปฏิบัติตนอยู่ร่วมกับสังคม ร้อยละ 74.4 สร้างแรงจูงใจให้นักศึกษาแสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ร้อยละ 73.8 สามารถแก้ไขพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของนักศึกษาให้ดีขึ้น ร้อยละ 73.4 ทำให้นักศึกษามีความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นที่ยอมรับของสังคม ร้อยละ 71.6 และอาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจกิจกรรมดาวแห่งความดี ร้อยละ 97.2 และเห็นควรให้จัดทำกิจกรรมนี้ในปีต่อไป คิดเป็นร้อยละ 97.2

ภาพประกอบ

ภาพประกอบ