สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
สงขลา , ตรัง , พัทลุง , ยะลา , ปัตตานี , สตูล
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผลการประชุมกลุ่ม การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้ม แข้งแบบยั่งยืน Communicate risk and Develop health behaviors Group เขตสำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 9 พิษณุโลก.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารกลาง
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
จังหวัดนครปฐม.
บรรลุ วิสัยท้ศน์ กรม และเป้าหมาย การ ลดโรค
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑๑. คุณพิจิตราฤทธิ์ ประภา ๑๒. คุณพดาลิมปสายชล ๑๓. คุณศิริชัยพุทธศิริ ๑๔. คุณอัครวุฒิศุภ อักษร ๑๕. คุณจันทิราโกมล ๑๖. คุณพนารัตน์ตัณฑ์ ไพบูลย์ ๑๗. คุณสมพรน้อยฉ่ำ.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ประธาน นายสุริน รักษาแก้ว เลขา คุณสุนันทา รอดสม ผู้นำเสนอ นายเบญพล ใหม่ชู
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด เลขาฯ คุณอิทธิพัทธ์ พงษ์อภิวัฒน์ หัวหน้า สวศ. ขอนแก่น สื่อ + สคร.+ สสจ. จังหวัด เลย หนองคาย ขอนแก่น อุดรธานี หนองบัวลำภู ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธ์

1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ ประสบการณ์การทำงาน ด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์ การให้ข้อมูลข่าวสารกับสื่อ ควรเป็นภาษาที่ เข้าใจง่าย หากเป็นไปได้ควรหลีกเลี่ยงคำย่อที่ เข้าใจยาก หรือหลีกเลี่ยงศัพท์เฉพาะ ศัพท์ ภาษาอังกฤษ หากจำเป็นควรวงเล็บคำอ่าน ประกอบเพื่อด้วย เสนอแนะให้มีคณะทำงานสื่อเข้มแข็ง ( ครอบคลุมสื่อฯทุกแขนง ) เพื่อเป็นศูนย์กลาง กระจายงานให้ทุกสื่อและเป็นคณะจัดทำ แผนงานโครงการ กำหนดค่าใช้จ่าย เพื่อการ สนับสนุนงบประมาณ ( ต้องคำนึงถึงระเบียบ ราชการ ) แต่ต้องคำนึงถึงธรรมชาติและความ แตกต่างของสื่อฯแต่ละพื้นที่ คำนึงถึงมุมมองของสื่อแต่ละประเภท ที่มีบริบท ที่ต่างกัน เช่นสื่อหนังสือพิมพ์อาจต้องการ ข้อมูลละเอียดเชิงลึก สื่อวิทยุต้องการข้อมูลที่ สั้นและกระชับ ปฏิบัติต่อสื่อทุกคน ทุกแขนงด้วยความเสมอ ภาคของทุกสื่อ

2 ทำความเข้าใจแนวคิดและประโยชน์ ของการสื่อสารประชาสัมพันธ์ฯกรณี การพัฒนา “ อำเภอเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” ทีวีดาวเทียมกรมควบคุมโรค โลโก้อำเภอเข้มแข็ง ( อาจได้จากการประกวด ออกแบบ ) จัดทำสปอต วิทยุ ทีวี จากส่วนกลาง โดย ใช้พรีเซนเตอร์ที่มีชื่อเสียง และเป็นที่นิยม ระดับประเทศ และควรมีการผลิตนำเสนอ อย่างอย่างต่อเนื่อง จัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น สติ๊กเกอร์ และ โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ จัดทำคู่มือการดำเนินงานอำเภอเข้มแข็งเพื่อ แจกจ่ายแก่ทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็ปไซด์กรมควบคุมโรค (

3 วางแนวทางการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ฯ กรณี การพัฒนา “ อำเภอเข้มแข็ง แบบยั่งยืน ” มีคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการอำเภอเข้มแข็ง ตั้งแต่ ระดับเขต จังหวัด และอำเภอ เพื่อร่วมวางแผนการ ดำเนินงานในแต่ละระดับ และมีการติดตาม ประเมินผล ชี้แจงในที่ประชุมของแต่ละระดับ ( เขต จังหวัด อำเภอ ) เตรียมสัมมนาให้ความรู้เรื่องอำเภอเข้มแข็งแก่ สื่อมวลชน และทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อความร่วมมือ ในการดำเนินงาน บทความด้านสุขภาพเพื่อนำสู่อำเภอเข้มแข็ง ( เฝ้า ระวัง ควบคุม ป้องกันโรค ) ใช้สื่อทุกช่องทางในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ เช่น หอ กระจายข่าว วิทยุชุมชน โปสเตอร์ ป้าย ประชาสัมพันธ์ มีการจัดประกวดบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

ขอบคุ ณค่ะ