Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม
ความหมายและมุมมองด้านต่าง ๆ ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ความหมายและมุมมองด้านต่าง ๆ ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Turban et al. (2012: 4) ให้ความหมายการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างกว้าง กล่าวคือ “กระบวนการซื้อ ขาย แลกเปลี่ยนสินค้า บริการ และ/หรือ ข้อมูลผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยส่วนใหญ่ผ่านอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต” Laudon and Traver (2007: 10) มองความหมายการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กล่าวคือ ให้หมายถึงเฉพาะธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนสิ่งมีค่า เช่น เงิน ระหว่างองค์กรหรือบุคคล เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการเท่านั้น
ความหมายและมุมมองด้านต่าง ๆ ของ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากนิยามข้างต้น การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช่เพียงแค่การซื้อขายเท่านั้น แต่ หมายรวมถึงการให้บริการลูกค้า ความร่วมมือระหว่างพันธมิตรธุรกิจ การเรียนรู้ ผ่านออนไลน์ และธุรกรรมต่าง ๆ ที่ผ่านทางออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือ ภายนอกองค์กร
ความหมายและมุมมองด้านต่าง ๆ ของ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากความหมายจึงทำให้เกิดมุมมองในด้านต่าง ๆ ออกเป็น 6 ด้านดังนี้ มุมมองด้านการสื่อสาร มุมมองด้านการพาณิชย์ มุมมองด้านกระบวนการธุรกิจ มุมมองด้านการให้บริการ มุมมองด้านการเรียนรู้ มุมมองในด้านสังคม
ระบบ e-Procurement ของ Officemate
ลักษณะ 7 ประการของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถทำการซื้อขายได้ทุก ๆ ที่ตลอดเวลา (Ubiquity) สามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก (Global Reach) มีความเป็นมาตรฐานในระดับสากล (Universal Standard) สามารถให้ข้อมูลที่มีความซับซ้อนและมีรายละเอียด (Richness) ความสามารถในการสื่อสารโต้ตอบสองทาง (Interactivity) ทำให้ข้อมูลมีจำนวนมากขึ้นและมีคุณภาพสูงขึ้น (Information Density) สามารถสื่อสารหรือเสนอสินค้าหรือบริการได้แบบรายบุคคล (Personalization/Customization)
เศรษฐศาสตร์ในอินเตอร์เน็ต ข้อมูลคือสิ่งสำคัญที่สุดที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ระยะทางไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป ความเร็วเป็นเรื่องสำคัญในการดำเนินธุรกิจ ปรากฏการณ์เครือข่าย (Network Effect) เป็นสิ่งสำคัญของการเติบโตของธุรกิจ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวกลางใหม่ที่เรียกว่าตัวกลางข้อมูลข่าวสาร (Infomediary) ลูกค้ายิ่งกว่าพระเจ้า ราคาสินค้าสามารถเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องคล่องตัวมากขึ้น ต้นทุนในการค้นหาสินค้า (Search Cost) เท่ากับศูนย์
ประเภทของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจกับบุคคลธรรมดา (Business to Customer : B2C) ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business : B2B) บุคคลธรรมดากับบุคคลธรรมดา (Customer to Customer : C2C) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Commerce: M-commerce)
ผลประโยชน์ของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผลประโยชน์ต่อองค์กร ผลประโยชน์ต่อผู้บริโภค ผลประโยชน์ต่อสังคม
อุปสรรคของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ด้านความปลอดภัย ด้านความเชื่อใจ
รูปแบบของการแสวงหารายได้ (Revenue Model) รายได้จากการโฆษณา (Advertising Revenue Model) รายได้จากค่าสมาชิก (SubScription Revenue Model) รายได้จากค่าธรรมเนียมจากการทำธุรกรรม (Transaction Fee Revenue Model) รายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ (Sale Revenue Model) รายได้จากโปรแกรมแบบเชื่อมโยง (Affiliate Program) (Affiliate Revenue Model)
รูปแบบของ B2C เว็บท่า (Portal) แนวนอน, แนวดิ่ง เว็บค้าปลีก (E-Tailer) เว็บเน้นเนื้อหา (Content Provider) เว็บนายหน้า (Transaction Broker) ตลาดออนไลน์ (E-Markplace) เว็บให้บริการ (Service Provider) เว็บชุมชนคนออนไลน์ (Community Provider)
รูปแบบของ B2B การประมูลหรือแคตตาล็อกออนไลน์ (Auction, E-Catalog) ตลาดออนไลน์ (Aggregator/Exchange) การร่วมมือการทำงาน (Collaborative) การประมูลแบบย้อนกลับ (Bid/Revenue Auction)
แผนผังขั้นตอนการทำ E-Auction รู้ความต้องการซื้อของหน่วยงาน กำหนดคุณสมบัติของสินค้า เชิญชวนผู้ค้าเพื่อให้เสนอตัวพิจารณา คัดเลือกผู้ค้าที่เข้าเกณฑ์คุณสมบัติ ชำระเงิน ทำการประมูล รับสินค้า สั่งซื้อ ทำสัญญา คัดเลือกผู้ชนะ การประมูล
คำถาม?
แบบฝึกหัด