ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( 1993-1997 ) ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
พบประธานกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
Graduate School Khon Kaen University
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประกันคุณภาพการศึกษา
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
สรุปประเภทของการวิจัย
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวทางการพัฒนาพนักงาน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการความรู้ KMUTNB
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
หลักสูตร เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
Evaluation of Thailand Master Plan
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( ) ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( )

การวิจัยเพื่อ พัฒนาภาวะผู้นำ และอาจารย์ใน อุดมศึกษาไทย

@ กรณีศึกษา….

การวิจัยเพื่อพัฒนาภาวะ ผู้นำและอาจารย์ใน นวัตกรรมระบบ

การอุดมศึกษา ในสถาบันสังกัด คณะกรรมการ อุดมศึกษาแห่ง ชาติ่

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัย สถาบันราช มงคล

หัวหน้า/รอง/ผู้ช่วย อธิการบดี/รอง/ผู้ช่วย คณบดี/ผู้อำนวยการ

สถาบันและ มหาวิทยาลัย ของรัฐ 21 เอกชน 51 สถาบันราชภัฎ 41 สถาบันราชมงคล 40 แห่ง

ผู้ใต้บังคับ ผู้ที่ไม่ได้เป็นผู้ บริหาร

สถาบัน 40 วิทยาเขต 15 คณะวิชา

อาจารย์ หมายถึง ผู้ทำหน้าที่สอน

อาจารย์ มหาวิทยาลัย ของ รัฐ 20,700 เอกชน 9,490 ราชภัฎ 7,376

ผู้เรียน หมายถึง นิสิต นักศึกษาที่ เรียนในระดับ ปริญญา

ผู้บริหาร อุดมศึกษาไทย ประสพ ความสำเร็จด้าน วิชาการควร เสริมเติมเต็ม ทางการบริหาร และภาวะผู้นำ จริงหรือไม่

อาจารย์ ระดับอุดมศึกษา ไทยประสพ ความสำเร็จด้าน วิชาการควรเสริม เติมเต็มทางการ วิจัยและนวัตกรรม ในวิชาการและ วิชาชีพที่เข้มข้น ระดับสากล

ระดับอุดมศึกษา ไทยประสพ ความสำเร็จด้าน วิชาการควรเสริม เติมเต็มทางการ จัดระบบการเรียน การสอนโดยให้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ หรือไม่

ควรมีระบบการ พัฒนาภาวะ ผู้นำและ อาจารย์ที่มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เหมาะสมกับการ อุดมศึกษาไทย

เนื่องจาก ผู้บริหารและ อาจารย์มีภาระ งานมากควร แสวงหาระบบ การพัฒนา บุคคลากรที่….

วิเคราะห์แนวระบบ …. สามารถ พัฒนาผู้บริหาร และ/หรือ อาจารย์โดยการ พัฒนาบุคคล และพัฒนางาน เป็นหนึ่งเดียว

สามารถพัฒนา ผู้บริหารและ/ หรืออาจารย์ โดยใช้เวลา พัฒนาส่วนใหญ่ ในที่ทำงาน

พัฒนา ผู้บริหารและ อาจารย์ โดย่ จัดในที่ทำงาน ที่บ้านและ/หรือ ท้องถิ่นที่อยู่ อาศัยเป็นส่วน ใหญ่

จัดให้ผู้บริหาร และอาจารย์ พัฒนาตนเอง และทบทวนการ เรียนรู้ได้ ตลอดเวลา

จัดให้ผู้บริหาร และอาจารย์ ได้ มีประสบการณ์ ตรงและการ สัมมนา แก้ปัญหาตาม ความเหมาะสม

เน้นการสัมมนา และอาจารย์เน้น การปฎิบัติใน สถานการณ์ จำลองและ สถานการณ์จริง ดีหรือไม่

ภาวะผู้นำ ควรแยกออกจาก หลักสูตรการบริหาร ทั่วไปโดยให้ศึกษา เฉพาะหลักสูตรการ บริหารการศึกษา ดี หรือไม่

รูปแบบที่ผู้บริหาร ต้องการและจำเป็น จำเป็นของผู้บริหารที่ ผู้ใต้บังคับบัญชา ต้องการ๑

เปรียบเทียบทักษะที่ ผู้บริหารควรมีและ จำเป็นกับทักษะ จำเป็นของผู้บริหารที่ ผู้ใต้บังคับบัญชา ต้องการ

การพัฒนาภาวะผู้นำ ที่ผู้บริหารต้องการ

เปรียบเทียบทักษะที่ จำเป็นของอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย จากอาจารย์ ผู้บริหารและผู้เรียน

การพัฒนาทักษะที่ จำเป็นของอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทยที่ นักศึกษา อาจารย์ และผู้บริหารต้องการ

การพัฒนาภาวะผู้นำ และอาจารย์ใน ระดับอุดมศึกษาที่ เหมาะสมกับประเทศ ไทย

ส่ง บุคลากรไปดู งาน ต่างประเทศ

ส่ง บุคลากรไป เรียน ต่างประเทศ

โครงการ ร่วมมือ ระหว่าง มหาวิทยาลัย อินเดียนากับ กระทรวงศึก ษาธิการ

เริ่มจัด การศึกษาการ บริหาร การศึกษาและ การอุดมศึกษา ในประเทศไทย

เริ่ม จัดการศึกษา ระดับปริญญา เอกในประเทศ ไทย

เริ่มจัด การศึกษาการ บริหารการศึกษา และการอุดมศึกษา ระดับปริญญาเอก ในประเทศไทย

เริ่มจัด โครงการ Shadow ทบวงมหาวิทยาลัย ร่วมกับ มหาวิทยาลัยใน ต่างประเทศ

เริ่มมีการจัด อบรมผู้บริหารและ ผู้นำการอุดมศึกษา ในโครงการของ ทบวงมหาวิทยาลัย

เริ่มมีการ จัดอบรมผู้บริหาร และผู้นำการ อุดมศึกษาใน โครงการของ RIHED SEAMEO

กรณีศึกษา กรณีศึกษาผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษา ไทยฝึกอบรมภาวะ ผู้นำที่มหาวิทยาลัย ฮาวาร์ด ประเทศ สหรัฐอเมริกา

ฝึกอบรมการจัด ระยะเวลา 2 ณ. มหาวิทยาลัยฮา วาร์ด

กรณีศึกษาฮาวาร์ด b หัวข้อฝึกอบรมเช่น b Faculty- facilitated b Leadership in Organizations b External Leadership

Reflection on Acedemic Leadership in Faculty- Governance

Financial Technology Participative Technology, Markets,and Students

Educational Trusteeship and the Management of Resources

Higher Educational and the Federal Government: Policy, Politics, and Perception

Effective Senior Leadership Community and Diversity

Moral and Ethical Dimensions of The Changing Environment

Pay, Performance, Motivation, and learning

กรณีศึกษาฮาวาร์ด b Planning, Governance, and Resource Allocation b Emerging Challenges and Opportunities

กรณีศึกษาฮาวาร์ด b Fostering Institutional Change and Innovation b Box Preparation for Shipment of Curriculum Materials

กรณีศึกษาRIHED b Regional Institute of Higher Education & Development : RIHED

กรณีศึกษาRIHED b 1998 SEAMEO RIHED ร่วมมือ กับ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย จัด Regional Workshop on University Management

กรณีศึกษาRIHED b 1997 SEAMEO RIHED with the support of the Government of New Zealand and the MUA. Thailand

กรณีศึกษาRIHED b 1997 Regional Workshop on Curriculum Development for Economics Teaching and Training for...

กรณีศึกษาRIHED b ….Transitional Economies in the Greater Mekong Subregion.

กรณีศึกษาRIHED b 2002 ด้วยความ ร่วมมือของ ประเทศ ออสเตรเลียและ มหาวิทยาลัย บูรพาได้จัด อบรมการสอน ปฎิบัติการ วิชาฟิสิคส์

กรณีศึกษาRIHED

กรณีศึกษา DERRC b 1997 Distance Education Regional Resources Center : DERRC จัดสัมมนาเรื่อง การจัดการศึกษา ผ่านดาวเทียมของ สมาชิกในภูมิภาค เอชียและแปซิฟิค

กรณีศึกษา เวียตนาม b 1998 ประเทศ เวียตนามได้ร้อง ขอผ่าน กรมวิเทศสหการ ให้จัดอบรม อธิการบดี รองอธิการบดีและ คณบดี

กรณีศึกษา เวียตนาม b มหาวิทยาลัยเปิด ของเวียตนาม ทั้งหมดโดย รัฐบาลไทยและ เวียตนามร่วมออก ค่าใช้จ่ายและมอบ ให้ มหาวิทยาลัยสุโข ทัยธรรมาธิราช จัดอบรม ณ.กรุง ฮานอย

กรณีศึกษาโคฮอร์ท b ความร่วมมือผลิต ดุษฎีบัณฑิตของ Oklahoma State University กับ มหาวิทยาลัย สยาม จำนวน 8 คน สำเร็จในปี 2545

กรณีศึกษาโคฮอร์ท b ความร่วมมือผลิต ดุษฎีบัณฑิตของ Oklahoma State University กับ มหาวิทยาลัย สยามโดยใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี การเรียนการสอน อุดมศึกษา

กรณีศึกษาไทย b ประเทศไทยได้มี การพัฒนา อาจารย์ใน ระดับอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาระบบ การเรียนการสอน มาก่อนปี 2500

กรณีศึกษาไทย b โดยทุก มหาวิทยาลัยใน ประเทศไทย ตระหนักดีว่า อาจารย์ส่วนใหญ่ เรียนจบวิชาการ ตามวิชาชีพ

กรณีศึกษาไทย b อาจารย์ทุกคน ต้องการพัฒนา ระบบการเรียนการ สอนโดยเฉพาะ การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีการ เรียนการสอนที่ เหมาะสม

กรณีศึกษาไทย b 2510 จุฬา ลงกรณ มหาวิทยาลัย คณะแพทย์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิด ลและมหาวิทยาลัย อื่นๆ

กรณีศึกษาไทย b 2510 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้แผ่นใสในระบบ การเรียนการสอน

กรณีศึกษาไทย b 2520 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้ระบบโทรทัศน์ ในระบบการเรียน การสอน

กรณีศึกษาไทย b 2530 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้ระบบโทรทัศน์ ปฎิสัมพันธ์และ Tele.Ed.Confere ncingในระบบการ เรียนการสอน

กรณีศึกษาไทย b 2540 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้ระบบe- education และe- learning ในระบบ การเรียนการสอน

กรณีศึกษาไทย b มีข้อควรศึกษาว่า การพัฒนาการ เรียนการสอนใน อดีตเน้นเรื่องการ ใช้สื่อมากกว่าการ พัฒนาระบบการ เรียน การสอนทั้ง ระบบโดยเนัน ผู้เรียนเป็นสำคัญ

กรณีศึกษาไทย b มีข้อควรศึกษาว่า การพัฒนาการ เรียนการสอนใน อดีตเน้นเรื่องการ ใช้สื่อมากกว่าการ พัฒนาระบบการ เรียน การสอนทั้ง ระบบที่เนัน ผู้เรียน เป็นสำคัญ

กรณีศึกษาไทย b 2542 มี การพัฒนา ผู้บริหาร อุดมศึกษา โดย ทบวงมหาวิท ยาลัย

กรณีศึกษาไทย b มีหลักสูตรการ ฝึกอบรมผู้บริหาร ระดับสูงเช่น คณบดี

กรณีศึกษาไทย b มีหลักสูตรการ ฝึกอบรมที่ น่าสนใจ เช่น b การวิเคราะห์ ประเด็น ยุทธศาสตร์

กรณีศึกษาไทย b ประสบการณ์ มหาวิทยาลัยใน กำกับ b การบริหาร ทรัพย์สินทาง กายภาพ b ความรู้พื้นฐานทาง บัญชีสำหรับ ผู้บริหาร

กรณีศึกษาไทย b การรื้อปรับ ระบบงาน b ภาวะผู้นำและการ ตัดสินใจ b การบริหาร สถาบันการศึกษา เอกชน

กรณีศึกษาไทย b การกำจัด ความเครียด b สุขภาพและ ค่านิยมของนัก บริหาร b ทักษะการเจรจา ต่อรอง

กรณีศึกษาไทย b 2545 มีการ พัฒนาผู้บริหาร อุดมศึกษาโดยจัด ให้มีการ อบรม ผู้บริหารระดับสาย สนันสนุนและช่วย วิชาการ รุ่นละ ประมาณ 1 เดือน

กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b แนวโน้มเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี b ยุทธศาสตร์การ พัฒนาประเทศ b นโยบายการ บริหารอุดมศึกษา

กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b นโยบายและ การปฎิรูป การศึกษา การปฎิรูปการ บริหารงานภาครัฐ b การบริหารจัดการ องค์กรที่ดี

กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ b การวางระบบ ติดตามและการ ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน

กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b การประกัน คุณภาพ b การก้าวเข้าสู่ ความเป็น นานาชาติ b เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ การบริหาร

กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b การบริหาร อุดมศึกษา เปรียบเทียบ b การวางแผนกล ยุทธ์ในการบริหาร b ภาวะผู้นำใน อุดมศึกษาไทย

กรณีศึกษาไทย b จุดเด่นของการ อบรมคือการดูงาน มหาวิทยาลัยที่มี การบริหารรูปแบบ น่าสนใจทั้งในและ ต่างประเทศ

การดำเนินการ b ศึกษาเอกสารทั้ง ในและ ต่างประเทศ b สัมภาษณ์ ผู้บริหาร บุคลากร อาจารย์และ นักศึกษา

การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ ผู้บริหารเกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ในเรื่องการบริหาร และภาวะผู้นำ อุดมศึกษาและ การเรียนการสอน ของอาจารย์และ รูปแบบการพัฒนา บุคลากร

การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ บุคลากรเกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ต้องการในเรื่อง การบริหารและ ภาวะผู้นำ อุดมศึกษาและ การพัฒนาการ เรียนการสอนของ อาจารย์

การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ อาจารย์เกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ต้องการในการ เรียนการสอนของ อาจารย์และ รูปแบบการพัฒนา บุคลากร

การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ นักศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ต้องการในการ พัฒนาการเรียน การสอนของ อาจารย์

วิเคราะห์ข้อมูล b นำข้อมูลจากการ สัมภาษณ์มา วิเคราะห์และ เปรียบเทียบ รวมทั้งการหา ความเชื่อมั่นโดย ใช้วิธีการทางสถิติ เช่น t-test และ ANOVA ตาม ความเหมาะสม

เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะภาวะ ผู้นำที่จำเป็นและ รูปแบบการพัฒนา บุคลากรที่ต้องการ ของผู้บริหารใน อุดมศึกษาไทย

เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะภาวะ ผู้นำที่ต้องการ ของ ผู้ใต้บังคับบัญชา ในอุดมศึกษาไทย

เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะการ เรียนการสอนและ รูปแบบการพัฒนา บุคลากรที่ต้องการ ของอาจารย์ใน อุดมศึกษาไทย

เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะการ เรียนการสอนของ อาจารย์ที่ นักศึกษาต้องการ

นวัตกรรมระบบ b ผลการวิจัยจะเป็น ข้อมูลส่วนหนึ่ง ของการสังเคราะห์ ระบบการพัฒนา ภาวะผู้นำและการ จัดระบบการเรียน การสอนอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย

คำตอบที่จะได้รับ b 1. ทักษะและ ภาวะที่ผู้นำ ในอุดมศึกษาไทย พึงมี พึงประสงค์ และควรพัฒนา

คำตอบที่จะได้รับ b 2. ทักษะและ ความรู้ที่อาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย พึงมี พึงประสงค์ และควรพัฒนา

คำตอบที่จะได้รับ b 3. ระบบการ พัฒนาภาวะผู้นำที่ พึงประสงค์และ เหมาะสมใน อุดมศึกษาไทย

คำตอบที่จะได้รับ b 4. ระบบการ พัฒนาอาจารย์ที่ พึงประสงค์และ เหมาะสมใน อุดมศึกษาไทย

คำตอบที่จะได้รับ b 5. ใคร องค์กรใด หรือ กลุ่มความ ร่วมมือใดบ้าง ? ที่ควรรับผิดชอบ การพัฒนาภาวะ ผู้นำและอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย

พัฒนาคนเพื่อพัฒนาชาติ b การสังเคราะห์ ระบบเพื่อให้ได้ นวัตกรรมการ พัฒนาผู้นำและ อาจารย์ที่ เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพใน อุดมศึกษาไทย

พัฒนาคนเพื่อพัฒนาชาติ b ไม้ย่อม b ออกดอกช้าฉันใด การศึกษาย่อม เป็นไปดังนั้น แต่ b ออกดอกคราใด งามเด่น ผู้พบเห็น จึ่งร่วมยินดี b ดัดแปลงจากกลอนของท่าน หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ด้วยความเคารพ b สวัสดี