วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้า โดยใช้สื่อการสอนบน INTERNET ช่วยสอน ในรายวิชาการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า รหัสวิชา 2104 – 2109 นายสถิต โพธิ์หลวง สาขางานติดตั้งไฟฟ้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า พบว่ามีนักศึกษาส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจในหลักการทำงานหรือวิธีการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า(มอเตอร์) โดยเฉพาะการใช้อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมรวมถึงสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ วงจรการควบคุมมอเตอร์ในแบบต่างๆ และการต่อวงจรเข้ากับอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ เมื่อนักศึกษาเรียนจบ จึงทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอน สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้า 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้าระหว่างการเรียนก่อนการใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน (คะแนนทดสอบก่อนเรียน) กับการเรียนโดยการใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน (คะแนนทดสอบหลังเรียน)

ประชากรกลุ่มตัวอย่าง ประชากร กลุ่มประชากรเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ ตำบลป่าตัน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งสิ้น 32 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ ซึ่งกำลังเรียนอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้า ปีการศึกษา 2554 จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 32 คน

ตัวแปรที่ทำการศึกษา การศึกษาการนำสื่อบน INTRENET มาใช้สอน การศึกษาปัญหาของกลุ่มประชากรที่จะทำการวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้าระหว่างการเรียนก่อนการใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน กับการเรียนโดยใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บน INTERNET วิชาการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า เรื่องการควบคุมมอเตอร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนการเรียน เรื่องการควบคุมมอเตอร์ โดยใช้สื่อบทเรียนบน INTERNET จำนวน 20 ข้อ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังการเรียน เรื่องการควบคุมมอเตอร์ โดยใช้สื่อบทเรียนบน INTERNET จำนวน 20 ข้อ http://www.lpc.rmutl.ac.th/elcen/elearning/motorcontrol/home_thai.html http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/54/index.htm

ผลวิเคราะห์ข้อมูลที่สำคัญ เรื่อง คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน X ร้อยละ S.D. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 9 30 0.75 18.5 62 0.93 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 15 50 0.72 22.5 75 0.68 อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า 16.5 55 0.85 24.75 82.5 0.58 สัญลักษณ์ และการคำนวณหาขนาดสายไฟฟ้าและอุปกรณ์ป้องกัน 10 33.33 0.45 21.5 72 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 20.5 68.33 รวมเฉลี่ย 14.03 46.77 0.76 26.25 87.5 0.44

สรุปผลการศึกษา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้า พบว่า การเรียนโดยใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการเรียนก่อนการเรียนโดยใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน 2. ผลการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้าอภิปรายผลการวิจัย มีค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกัน เมื่อวิเคราะห์โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

สรุปผลการศึกษา (ต่อ) 3. เมื่อเปรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและผลการเรียนหลังเรียนโดยใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่3 สาขางานติดตั้งไฟฟ้าโดยใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ พบว่ามีความก้าวหน้าทางการเรียนแตกต่างกัน 30.32 เปอร์เซ็นต์

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย 1. เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้เกิด ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างการเรียนโดยไม่ใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน กับการเรียนโดยการใช้สื่อการสอนบน INTERNET มาช่วยสอน