เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
Advertisements

ส่งการบ้านในระบบ E-laering
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
เครื่อข่ายเชื่อมโยงการเรียนรู้
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การแถลงนโยบายผู้บังคับบัญชา
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
หลักธรรมเพื่อชีวิตและสังคม
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
การทำงานอย่างมีความสุข
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
โครงสร้างการบริหารโรงเรียนพลัง แผ่นดิน เป็นผู้มีจิตอาสา 1. ศึกษากิจกรรม / ตัวอย่าง / วิธีการของจิตอาสาจากสื่อต่างๆ เช่น ภาพยนต์ สารคดี 2. นำนักเรียนไปพัฒนา.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
ครูธีระพล เข่งวา 1 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง พระธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ครูผู้สอน …… นายธี ระพล เข่งวา โรงเรียนวัง.
รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัส ส43102 เรื่อง พระไตรปิฏก
ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
เรื่อง ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
พุทธศาสนากับชีวิตประจำวัน ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สถาบันทาง สังคม ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์ วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัส ส43102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ของพระพุทธศาสนา ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์ โรงเรียนวังไกลกังวล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจว่าพระพุทธศาสนาฝึกคน ไม่ให้ประมาทและมุ่งประโยชน์สุข สันติภาพ แก่บุคคลสังคมและโลก

พระพุทธศาสนามุ่งประโยชน์สุข และสันติภาพแก่บุคคล สังคม และโลก ภิกษุทั้งหลายเธอจงจาริกไป เพื่อประโยชน์ แก่คนจำนวนมาก เพื่ออนุเคราะห์โลกฯ

หลักการสร้างความสุข 1.ความสุขของผู้ครองเรือน คิหิสุข 1) สุขเพราะการมีทรัพย์ อัตถิสุข ขยันหา รู้จักเก็บ คบมิตรดี อยู่ตามฐานะ

2) สุขเพราะการใช้ทรัพย์ หาทรัพย์โดยสุจริต รู้จักใช้สอย เลี้ยงดูครอบครัว เลี้ยงเพื่อนฝูง บำบัดอันตรายในครอบครัว กิจกรรมในสังคม

3) สุขเพราะไม่มีหนี้ มีความภูมิใจไม่เป็นหนี้ใคร 4) สุขเพราะความประพฤติไม่มีโทษ ภูมิใจในตน ว่ามีความประพฤติสุจริต

หลักการสร้างความสุข 2.ความสุขจากฌานระดับต่างๆ ฝึกจิตเป็นสมาธิ ละนิวรณ์ 5 กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา

หลักการสร้างความสุข 3.ความสุขเกิดจากพระนิพพาน ความสุข เกิดจากการรู้แจ้งเห็นจริง จนละกิเลสอาสวะ โดยสิ้นเชิง พระนิพพาน

ทั้งตนและผู้อื่น เบญจศีล เบญจธรรม หลักการสร้างสันติภาพ 1.พระพุทธศาสนาสอนไม่ให้เบียดเบียน ทั้งตนและผู้อื่น เบญจศีล เบญจธรรม

2.พระพุทธศาสนาสอนให้มีเมตตาต่อกันทั้ง ต่อหน้าและลับหลัง สาราณียธรรม 6 ต่อหน้าและลับหลัง สาราณียธรรม 6 เมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม สาธารณโภคี สีลสามัญญตา ทิฎฐิสามัญญตา

ต่อหน้าและลับหลัง พรหมวิหาร 4 2.พระพุทธศาสนาสอนให้มีเมตตาต่อกันทั้ง ต่อหน้าและลับหลัง พรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

3.พระพุทธศาสนาสอนให้มีความเสียสละ * เสียสละภายใน ละโลภ โกรธ หลง * เสียสละภายนอก รู้จักเสียสละ สงเคราะห์ผู้อื่น

4.พระพุทธศาสนาสอนให้มีความ อดทน ขันติ และไม่ยึดมั่นในตัวตน อนัตตา อดทนอดกลั้นต่อคำดุด่าว่ากล่าวเสียดสีของผู้อื่น

5.พระพุทธศาสนาสอนให้เป็นคนใจกว้าง ยอมรับความแตกต่าง 1.ยอมรับความแตกต่างด้านความคิดเห็น 2.ยอมรับลัทธิความเชื่อถือที่แตกต่างกัน

6.พระพุทธศาสนาสอนให้เอาชนะความชั่วร้าย ด้วยความดี ด้วยการไม่จองเวร

เรื่อง กำเนิดศาสนา ปรัชญาชีวิต 25นาที ชม วีดีทัศน์ เรื่อง กำเนิดศาสนา ปรัชญาชีวิต 25นาที