แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
ที่มาและความสำคัญของปัญหา 1. ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานของ นักศึกษา 2.จากศึกษาพบว่าถ้าหากผู้เรียนมีพฤติกรรมด้านไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา)และมีวินัยในตนเอง ย่อมทำทุกสิ่งได้ประสบความสำเร็จ (สุมน อมรวิวัฒน์, 2533) 3. เพื่อพัฒนาผู้เรียนและปลูกจิตสำนึกให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนและมีวินัยในตนเองอันนำไปสู่ความรับผิดชอบต่อสังคม ต่อเพื่อนมนุษย์และการดำรงชีวิตอย่างมีระเบียบวินัยอยู่ในศีลธรรมอันดีซึ้งเป็นการพัฒนาที่แท้จริงและยั่งยืน
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความ รับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ขั้นตอนการวิจัย ระยะเวลา เดือน สัปดาห์ ขั้นตอนดำเนินการ ธันวาคม มกราคม ระยะเวลา เดือน สัปดาห์ ขั้นตอนดำเนินการ ธันวาคม มกราคม 1 2 3 4 1. ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน √ 2. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา 4. ดำเนินการวิจัย 4.1 ดำเนินการแก้ปัญหา 4.2 เก็บรวบรวมข้อมูล 4.3 วิเคราะห์ข้อมูล 5. เขียนรายงานผลการวิจัย
ผลการประเมินพฤติกรรมด้านศีล สมาธิ ปัญญา ผลการประเมินพฤติกรรมด้านศีล สมาธิ ปัญญา รายการประเมิน ค่าร้อยละ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 จำนวน 1. เข้า-ออกห้องเรียนตรง เวลา 91.42 94.28 25.71 97.14 35 2. มีอุปกรณ์การเรียน ครบ 82.85 3.ทำงานเป็นระเบียบ 4.ส่งงานตรงเวลา 80.00 77.14 5.ผลงานสะอาด 6.ไม่คุย ไม่เล่นขณะเรียน 7.ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย 42.85 28.57 14.28 5.71 11.42 8.ช่วยเหลือผู้อื่น 57.14 71.42 9.นำความรู้ไปใช้ในการ ทำแบบฝึกหัดเรื่องต่างๆ ที่เรียน
กรอบแนวคิดในการวิจัย แก้ปัญหาพฤติกรรมของผู้เรียนในด้านความประพฤติ การขาดความรับผิดชอบและการไม่เอาใจใส่ในการเรียน จึงจะใช้หลักไตรสิกขาในการพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนเพื่อให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งกายและใจ โดยจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ความรู้ในการฝึกทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง พูด อ่าน และเขียน
กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ กรุงเทพมหานคร 2. กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาคอมพิวเตอร์ 35 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง
ผลการวิจัย ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีความกระตือรือร้น สนใจการเรียนมากขึ้น หรือมาเข้าห้องเรียนตรงเวลาทุกคนมีอุปกรณ์การเรียนครบ ส่งงานตรงเวลามากขึ้น ไม่คุย ไม่เล่นขณะเรียน กล้าซักถาม ตอบข้อซักถามได้ถูกต้องมากขึ้น ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน ชอบทำกิจกรรมกลุ่ม
ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาวิจัย แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหลักไตรสิกขามีความเหมาะสมที่จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านกิจกรรม กิจกรรมหลากหลาย เหมาะสมกับความสนใจและวัยของผู้เรียน สามารถพัฒนาพฤติกรรมด้านศีล สมาธิ ปัญญาของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้ ด้านผู้สอนได้ออกแบบและคิดวางแผนการจัดกิจกรรมให้หลากหลายเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ด้านผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีความกระตือรือร้น สนใจการเรียนมากขึ้น ส่งงานตรงเวลา
ขอบคุณครับ