สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ธุรกิจ จดหมาย.
การจัดกระทำข้อมูล.
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
การเขียนรายงานการวิจัย
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”

การวิจัยการศึกษา

หลักฐานรายงานแสดงคุณค่าของงานวิจัย และแสดงกระบวนการวิจัยทุกขั้นตอนซึ่งเป็นเครื่องเชื่อมโยงองค์ความรู้ที่มีมาแต่เดิมกับผลงานวิจัยที่นักวิจัยได้ทำขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นสารสนเทศสำหรับผู้เกี่ยวข้อง หน่วยงาน ผู้สนใจ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงนโยบายและเชิงวิชาการ

รายงานวิจัย

กล่าวถึงปัญหาที่ต้องการศึกษา เขียนเป็นความเรียงมีย่อหน้าเป็นตอนตามเนื้อหา มีการอ้างอิงแทรกในข้อความ เฉพาะกับเรื่องที่เกี่ยวข้องและกล่าวถึงความจำเป็นที่ผู้วิจัยต้องทำเรื่องนี้

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

สื่อความหมายสอดคล้องกับชื่อเรื่องที่จะทำการวิจัยโดยผู้วิจัยต้องถามตัวเองว่าจะศึกษาเรื่องใด ในสิ่งที่เป็นปัญหาสำคัญควรศึกษาที่สุด เพื่อบอกว่าเราอยากศึกษาและอยากได้คำตอบในเรื่องใด

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เป็นการคาดหวังว่าจะได้คำตอบนี้ก่อนดำเนินการวิจัย โดยศึกษาจากเอกสาร ทฤษฎี หรืองานวิจัยที่ใกล้เคียง โดยใช้ข้อความที่ชัดเจน ตรวจสอบได้ ใช้ภาษาง่าย ๆ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

สมมุติฐานของการวิจัย

เป็นการบอกกรอบของงานวิจัยว่ามีขอบเขตแค่ไหน ครอบคลุมอะไรบ้าง บอกประชากร, เนื้อหา, ตัวแปรที่ต้องการศึกษา รวมทั้งช่วงเวลาที่จะศึกษา และเนื้อหาในการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย

เป็นการให้นิยาม หรือให้คำจำกัดความ เพื่อทำความเข้าใจระหว่างผู้อ่านกับผู้ทำวิจัย ให้เข้าใจตรงกัน โดยเขียนให้สั้น กะทัดรัด

คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย

เป็นการตกลงที่เชื่อว่าเป็นไปได้ทั้ง ๆ ที่ไม่ได้ทดลองหรือมีค่าตัวเลขมาแสดง และควรมีเหตุผลรองรับด้วย ส่วนใหญ่เป็นสถานการณ์หรือเงื่อนไขที่ผู้วิจัยรับมา เช่น การวัด, การแปรผล, วิเคราะห์ข้อมูล

ข้อตกลงเบื้องต้น

ผู้วิจัยจะกล่าวถึงปัญหาที่ไม่อาจควบคุมได้

ข้อจำกัดในการวิจัย

ผู้วิจัยต้องตอบคำถามว่าเมื่อทำวิจัยแล้ว จะได้อะไร ซึ่งต้องสอดคล้องกับความเป็นมา และความสำคัญของปัญหาที่กล่าวไว้แล้วในตอนแรก ตลอดจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ