เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง
การพัฒนาครูทหาร ฯ เทคนิคการถ่ายทอด ? เทคนิคการถ่ายทอด
ความมุ่งหมาย: เพื่อเข้าใจ การสร้างกลวิธีในการถ่ายทอด ของครูทหาร การสร้างกลวิธีในการถ่ายทอด ของครูทหาร เป็นการสื่อความหมาย !
สื่อ สาร ผู้ส่งสาร ผู้รับ การตอบสนอง หมายเหตุ โดยทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายใต้ กาละ เทศะ และสภาพแวดล้อมทางสังคม
ไม่ใช่ใครๆ....ก็ทำได้
จึงมาเป็น: 4 ส. – 4 ดี หลัก 4 ส. เพื่อสร้างครู หลัก 4 ดี เพื่อการสื่อ จึงมาเป็น: 4 ส. – 4 ดี หลัก 4 ส. เพื่อสร้างครู หลัก 4 ดี เพื่อการสื่อ สร้าง เสริม สื่อ สรุปผล น้ำเสียง เนื้อหา ภาษา ท่าทาง
4 ส. – 4 ดี เสริม สร้าง สื่อ (4 ดี) สรุปผล
4 ส. – 4 ดี สร้าง เสริม ภายใน ภายนอก สร้างใจ สร้างความรู้ สร้างความเชื่อมั่น เสริม ภายนอก บุคลิกภาพ ท่าที วาจา - การพูด
4 ส. – 4 ดี เสริม ให้แน่น ค้นคว้า – หาเพิ่ม มุ่งมั่น พัฒนา เสริมเคล็ดวิชา เสริม ใจ-กาย มุ่งมั่น พัฒนา
อย่างนี้...ต้องสร้าง ! ?
?
สร้าง + เสริม
สร้าง+เสริม ภายใน-นอก
ศึกษาสถานการณ์ Analysis 4 ส. – 4 ดี สื่อ +(4 ดี) ศึกษาสถานการณ์ Analysis 4 ดี น้ำเสียง เนื้อหา ภาษา ท่าทาง
การศึกษาสถานการณ์ (สื่อ) การศึกษาสถานการณ์ (สื่อ) ความมุ่งหมาย + (แถลงหลักสูตร) ผู้เข้าฟัง / ผู้เรียน เวลาที่มี สิ่งอำนวยความสะดวก/อุปกรณ์ การเตรียมการ + (4ดี) + ซักซ้อม
การเตรียมคำบรรยาย (สื่อ) การเตรียมคำบรรยาย (สื่อ) รวบรวมข่าวสาร เข้าใจเรื่องที่บรรยาย กำหนดหัวข้อสำคัญ เรียบเรียงหัวข้อสำคัญ หาข้อมูลสนับสนุน เลือกทัศนูปกรณ์ เตรียมคำบรรยาย ( 3 ส่วน )
การบรรยาย - ให้คงลักษณะ 4 ดี น้ำเสียง เนื้อหา ภาษา ท่าทาง
การบรรยาย (สื่อ) บรรยายไปตามหัวข้อ กล่าวนำ/สรุป ให้กะทัดรัด การบรรยาย (สื่อ) บรรยายไปตามหัวข้อ กล่าวนำ/สรุป ให้กะทัดรัด การตอบคำถาม ควรยกตัวอย่าง ให้เหตุผลอย่างเหมาะสม/ให้ข้อ คิดเห็น / วาดภาพของปัญหาที่จะมี ใช้ลักษณะ 4 ดี
แบบการบรรยายฯ
ต้องวิเคราะห์ผู้ฟังให้ดี
บุคลิก....?
มาด ทหารเรือ ก็......
มาด ทหารอากาศ.....
4 ส. – 4 ดี ประเมินตน บันทึกผล นำไปปรับปรุง สรุปผล
นักบรรยายสรุปที่ดี : 1 ลำดับความคิดได้ดี 2 ประเมินเป้าหมาย 3 เตรียมการดี 4 พูดมีจังหวะจะโคน/เสียงสูง-ต่ำ หนัก - เบา 5 สังเกตปฏิกิริยาผู้ฟังได้ขณะที่พูด
ความรักของแม่ที่มีต่อลูกและความรักของครูที่มีต่อศิษย์นั้น คือ พลังสร้างสรรค์ชีวิตและสังคมที่ยิ่งใหญ่ที่สุด เป็นพลังที่แท้จริงยิ่งกว่าพลังอื่นๆ เป็นพลังที่จะไม่สูญหายไป ประเทศชาติจะเปลี่ยนแปลงอย่างไรต่อไป คนอื่นจะใจไม้ไส้ระกำอย่างไรก็แล้วแต่ แม่ก็ยังรักลูก ครูก็ยังรักศิษย์ พลังของรักแท้นี้คือ พลังที่เป็นรากฐานของสังคม ศ.นพ. ประเวศ วะสี
เทคนิคการใช้เครื่องช่วยฯ * การใช้ไม้ชี้ * การใช้กระดาษจดย่อ(โน้ต-Note) * การใช้แผ่นใส / เครื่องฉาย
การใช้ไม้ชี้ ใช้วัสดุแข็ง ชี้ตรงเป้าหมาย ชี้ที่ปลายข้อความด้านใกล้ ไม่ชี้คำต่อคำ เน้นข้อความได้ ชี้ตรงจุด ไม่วนรอบเป้าหมาย เมื่อไม่ใช้ให้เก็บ หรือ วางไว้ ซักซ้อม “ผู้ช่วยชี้” ให้ตรงกับที่พูด
การใช้กระดาษจดย่อ (Note) พึงระวัง หน้าตา / ท่าทาง ใช้การ์ด หรือ แผ่นกระดาษ เขียนเฉพาะใจความสำคัญ เขียนตัวอักษรที่ชัดเจน ตัวโตกว่าปกติ เน้น (Highlight) ข้อความสำคัญ แสดงถึงการเตรียมการ/ไม่ต้องกังวล
การใช้แผ่นใส/เครื่องฉาย ต้องไม่เก่า หรือ พร่ามัว** เรียงตามลำดับความคิด ได้ความคิดรวบยอด เพียงหนึ่งเดียว ควรใช้ข้อความไม่เกิน 9 บรรทัด ควรใช้ไม่เกิน 32 แผ่น/ชม. การใช้โทนสี
อะไร ควรแก้ไข ?
เพื่อมิให้.... ก็ต้องมาดู .....
เบื้องหลังการถ่ายทำ
ปรึกษาหารือ
ข้อมูลถูกต้อง
มันอยู่ที่ใจ ไม่ใช่วัย... คงไม่จำเป็นต้องใช้ มันอยู่ที่ใจ ไม่ใช่วัย...
ให้ซักถามค่ะ
ความรักของแม่ที่มีต่อลูกและความรักของครูที่มีต่อศิษย์นั้น คือ พลังสร้างสรรค์ชีวิตและสังคมที่ยิ่งใหญ่ที่สุด เป็นพลังที่แท้จริงยิ่งกว่าพลังอื่นๆ เป็นพลังที่จะไม่สูญหายไป ประเทศชาติจะเปลี่ยนแปลงอย่างไรต่อไป คนอื่นจะใจไม้ไส้ระกำอย่างไรก็แล้วแต่ แม่ก็ยังรักลูก ครูก็ยังรักศิษย์ พลังของรักแท้นี้คือ พลังที่เป็นรากฐานของสังคม ศ.นพ. ประเวศ วะสี