ระบบบริหารจัดการที่ เอื้อให้เกิดผลงาน วิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Outline ความสำคัญของงานวิชาการรับใช้ สังคม University Community Engagement และงานวิชาการรับ ใช้สังคม กลไกสนับสนุนการทำงานวิชาการ รับใช้สังคม ตัวอย่างผลงานวิชาการรับใช้ สังคม ข้อเสนอแนะ
ความสำคัญ - วิสัยทัศน์ระยะ ยาว เป็นองค์การธรรมรัฐ เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล
หนึ่งในประเด็นยุทธศาสตร์ ปัจจุบัน - พ. ศ.2560 คือ “ การวิจัยและบริการ วิชาการเพื่อเสริมสร้างสังคม เข้มแข็ง แข่งขันได้ และรองรับการ พัฒนาประเทศ ”
University Community Engagement Engagement และงานวิชาการรับใช้ สังคม
“the process of working collaboratively with and through groups of people affiliated by geographic proximity, special interest, or similar situations to address issues affecting the well- being of those people” Center for Disease Control and Prevention (CDC), 1997 Community engagement
Partnershi p Mutual Benefits Scholarshi p Social Impact Universit y Commun ity Engage ment ศ. ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน, 17 กันยายน 2556 หลักการ 4 ประการของ Community Engagement
Center for Disease Control and Prevention (CDC), June Community engagement continuum
Process สู่ Product OutreachConsult Involve Collaborate Shared Leadership ผลงาน วิชาการ รับใช้สังคม University Community Engagement
กลไกสนับสนุนการทำงาน วิชาการรับใช้สังคม
นโยบาย 3 ล “ แหล่งเรียนรู้ หลักใน ถิ่น เลิศสู่สากล ” สำนักวิชา ศูนย์บริการ วิชาการ สถาบันวิจัย และพัฒนา
บูรณาการภารกิจหลักของ มหาวิทยาลัย Research Art & Culture Academic service Teaching & Learning
ส่งเสริมให้คณาจารย์ / นักวิจัย รวมตัวกัน กลุ่มวิจัย (Research Group) ทุน 100,000 บาท / ปี ไม่เกิน 3 ปี หน่วยวิจัย (Research Unit) ต่อมา ปรับเป็นหน่วยวิจัยและบริการ วิชาการ ทุน 300,000 บาท / ปี ระยะ 3 ปีแรก หลังจากนั้นให้ตามผลการ ประเมิน (100, ,000 บาท / ปี )
ส่งเสริมให้คณาจารย์ / นักวิจัย รวมตัวกัน ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ (Research Center of Excellence) ทุน 500,000 บาท / ปี + 30% ของค่า บริหารโครงการที่นำเข้า มหาวิทยาลัย
พัฒนานักวิจัยในสายรับใช้ สังคม ทุนพัฒนางานวิจัยเชิงพื้นที่ ( จังหวัดนครศรีธรรมราช ) ความ ร่วมมือระหว่าง มวล. และ สกว. ทุน ละไม่เกิน 200,000 บาท ระยะเวลา ดำเนินการไม่เกิน 2 ปี เสริมความ เข้มแข็งให้กับกลุ่มวิจัย หน่วยวิจัย ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศฯ
ตัวอย่างผลงานวิชาการ รับใช้สังคม
ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมไม้ ศึกษาธรรมชาติเนื้อไม้ พัฒนานวัตกรรมการเลื่อย การอบไม้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้โรงงานในพื้นที่ภาคใต้ ไม้ยาง ไม้ไผ่ ไม้ปาล์ม ฯลฯ
ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านกุ้ง คัดเลือกและพัฒนาสายพันธุ์กุ้งปลอดโรค ถ่ายทอดเทคโนโลยีและให้คำปรึกษา : การบริหารจัดการบ่อ สูตรอาหาร การป้องกันโรค EMS ฯลฯ
ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม ฟิสิกส์ยั่งยืนฯ การอบแห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ : ปลา ผัก พริก ข้าว ฯลฯ นวัตกรรมเครื่องให้ความร้อนที่ใช้ในกระบวนการผลิต
ศูนย์ความรู้เฉพาะด้าน นิเวศวิทยาพยากรณ์ฯ การใช้ระบบเซนเซอร์กับแนวปะการัง ป่าประ Smart Farm
หน่วยวิจัยและบริการวิชาการโรค ไข้เลือดออก การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกที่เน้นการมีส่วนร่วม ของชุมชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ข้อเสนอแนะ - เพื่อความ ต่อเนื่องและยั่งยืน
สร้างระบบการสนับสนุนตลอด เส้นทาง Outre ach Cons ult Invol ve Collabo rate Shared Leader ship โครงสร้าง / ระบบ / กลไก สนับสนุนการดำเนินการ
สร้างเสริมศักยภาพบุคลากร สร้าง engagement culture ใน การทำงานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและ วัฒนธรรม สร้างสมรรถนะ เพิ่มความรู้และ ทักษะที่จำเป็นต่อการทำงาน ร่วมกับชุมชนแบบการเป็น หุ้นส่วนระยะยาว (long-term partnership)
วัลลา ตันตโยทัย