วิชา งานฝึกฝีมือ(2100-1003) เวลาเรียน 6 ชม วิชา งานฝึกฝีมือ(2100-1003) เวลาเรียน 6 ชม./สัปดาห์ จำนวน 2 หน่วยกิต รวมเวลาเรียน 108 ชม./ภาคเรียน
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยทั่วๆไป สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ - แบ่งออกได้เป็น 3 สาเหตุ 1. สาเหตุเกิดจากผู้ปฏิบัติงาน 2. สาเหตุเกิดจากสภาพแวดล้อม 3. สาเหตุเกิดจากเครื่องมือและอุปกรณ์ ที่มาข้อมูล : ศ.นพ.ประเวศ วะสี “พระเจ้าอยู่หัวกับรหัสพัฒนาใหม่” 2549 : หน้า 28
ความปลอดภัยในการป้องกันเพลิงใหม้ ประเภทของเพลิงไหม้ มี 4 ประเภท ประเภทที่ 1 ประเภท A ประเภทที่ 2 ประเภท B ประเภทที่ 3 ประเภท C ประเภทที่ 4 ประเภท D
เทคนิคในการยกของ หลักในการยกวัสดุ หลักการยกและการเคลื่อนย้ายวัสดุ การป้องกันอุบัติเหตุเมื่อต้องเคลื่อนย้ายวัสดุ
การปฐมพยาบาล หลักปฏิบัติทั่วๆไปในการปฐมพยาบาล วิธีการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย การผายปอด วิธีการปากต่อปาก วิธีการกดหน้าอก วิธีการกระตุ้นหัวใจ
หน่วยที่ 2 เครื่องมือทั่วไปและเครื่องมือกลเบื้อต้น เครื่องมือเล็กใช้งานทั่วๆไป เช่น ค้อน , ไขควง เครื่องมือกลเบื้องต้น ประกอบด้วย เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเลื่อย เครื่องเจียระไน
หน่วยที่ 3 เครื่องมือวัดและการตรวจสอบ กฎการใช้เครื่องวัด ข้อควรระวังและการบำรุงรักษาเครื่องมือวัด ระบบและหน่วยการวัด 1. ระบบอังกฤษหรือระบบนิ้ว 2. ระบบเมตริก 3. ระบบสากลหรือเอสไอ
เครื่องมือวัดที่ใช้สำหรับการวัดงาน บรรทัดเหล็ก (Steel Rule) การใช้งานบรรทัดเหล็ก ข้อควรระวังในการใช้บรรทัดเหล็กและการบำรุงรักษา * เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ - ชนิดการแบ่งของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ - ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ - การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ บอกหลักการ บอกชนิด บอกวิธีการ เขียนสูตร ระบุชื่อ เขียนรูปแบบ
ไมโครมิเตอร์คาลิเปอร์ หน้าที่และส่วนประกอบ หลักการของไมโครมิเตอร์ การอ่านค่า การแบ่งสเกล ชนิดของไมโครมิเตอร์ ข้อควรระวังและการบำรุงรักษา
หน่วยที่ 4 (งานร่างแบบ) หน่วยที่ 4 (งานร่างแบบ) เครื่องมือและอุปกรณ์ในการร่างแบบ - เหล็กขีด - วงเวียนเหล็ก - วงเวียนขาเหล็ก - วงเวียนขาโค้ง - ฉากเหล็ก - ฉากผสม - บรรทัดเหล็ก - ค้อน
เทคนิคในการร่างแบบ การร่างแบบโดยใช้สีทา การร่างแบบโดยใช้น้ำยาร่างแบบ กฎและการทำงานในการร่างแบบงาน
หน่วยที่ 5 (งานตะไบ) ส่วนต่างๆ ของตะไบ ลักษณะและรูปร่างของตะไบ ชนิดฟันของตะไบ หลักการเลือกตะไบเพื่อใช้งาน ** เทคนิคการจับตะไบ ** การออกแรงเมื่อตะไบงาน ** การไสตะไบ การจับงานเพื่อตะไบ
การตรวจงานตะไบและตะไบ การตรวจสอบผิวงานตะไบ การระวังรักษาตะไบ ความปลอดภัยในการใช้ตะไบปฏิบัติ การบำรุงรักษาตะไบ
หน่วยที่ 6 (งานตัด)เครื่องเลื่อย หน่วยที่ 6 (งานตัด)เครื่องเลื่อย รูปร่างและส่วนประกอบที่สำคัญของเลื่อยมือ โครงเลื่อย ด้ามหรือที่สำหรับมือจับ ขอเกี่ยวใบเลื่อย ใบเลื่อย
ขนาดและการเลือกใบเลื่อย ขนาดที่เลือกเพื่อการใช้งานเลื่อย ชนิดที่เลือก วัสดุที่ใช้ทำใบเลื่อย การใส่ใบเลื่อย การจับงานที่จะทำการเลื่อย
เทคนิคการใช้เครื่องเลื่อยตัดงาน เทคนิคการการตัดงาน ข้อควรระวังในการใช้เลื่อย ความปลอดภัยและวิธีการบำรุงรักษา
หน่วยที่ 7 (งานเจาะ)เครื่องเจาะ หน่วยที่ 7 (งานเจาะ)เครื่องเจาะ รูปร่างและส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่องเจาะ ลักษณะที่สำคัญของเครื่องเจาะ ลักษณะและส่วนต่างๆของดอกส่วาน ระบบและขนาดของดอกสว่าน วิธีการจับดอกสว่านในการเจาะงาน การคำนวณความเร็วรอบและการป้อนเจาะ การหล่อเย็น
(งานเจาะ) ต่อ วิธีการจับชิ้นงานและการถอดดอกสว่าน การลับคมดอกสว่าน ขั้นตอนการลับคมดอกสว่าน ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเจาะ การบำรุงรักษาเครื่องเจาะ
หน่วยที่ 8 (งานคว้านผิวเรียบ) หน่วยที่ 8 (งานคว้านผิวเรียบ) งานคว้านละเอียด ชนิดของดอกคว้านละเอียด ดอกคว้านละเอียดด้วยมือ ดอกคว้านละเอียดที่ทำงานด้วยเครื่องจักร ชนิดดอกคว้านละเอียดที่ทำงานด้วยเครื่องจักร - ชนิดก้านตรง - ชนิดร่องเอียงขวา - ชนิดปรับได้ - ชนิดคมคาร์ไบด์
งานคว้านผิวเรียบ(ต่อ) เทคนิควิธีการคว้านละเอียด การเผื่อระยะรูเพื่อเจาะรูคว้านละเอียด ดอกคว้านละเอียดด้วยมือ ขั้นตอนการคว้านละเอียด
หน่วยที่ 9 (งานทำเกลียวด้วยมือ) เครื่องมือทำเกลียวในและเกลียวนอก การทำเกลียวใน ชนิดของการต๊าป การคำนวณเพื่อเจาะรูทำเกลียวใน วิธีการทำเกลียวในด้วยต๊าป วัสดุหล่อลื่นที่ใช้ในการตัดเกลียว การนำดอกต๊าปเกลียวที่หักออกจากรู
งานทำเกลียวด้วยมือ(ต่อ) เครื่องมือทำเกลียวนอก การทำเกลียวนอก ชนิดของการต๊าป ขั้นตอนวิธีการทำเกลียวในด้วยต๊าป สรุปการทำเกลียวนอก(ข้อผิดพลาด,สาเหตุ,ข้อแก้ไข)
หน่วยที่ 10 (งานชุบแข็ง) ความหมายของการชุบแข็ง คุณสมบัติของโลหะที่นำมาชุบแข็ง การใช้เครื่องมือในการชุบแข็ง วิธีการขึ้นรูป วิธีการชุบแข็ง เทคนิคการชุบแข็ง