งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกลเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกลเบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 2 เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกลเบื้องต้น

2 เครื่องมือทั่วไป ค้อน ( Hammers ) 1. ค้อนหัวแข็ง 2. ค้อนหัวอ่อน
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ค้อนหัวแข็ง 2. ค้อนหัวอ่อน

3 ค้อนหัวแข็ง 2. ค้อนหัวตรง (Straight Peen Hammer) 3. ค้อนหัวขวาง
1.ค้อนหัวกลม (Ball Peen Hammer) 2. ค้อนหัวตรง (Straight Peen Hammer) 3. ค้อนหัวขวาง (Cross Peen Hammer) 4. ค้อนช่างไม้ (Carpenter Hammer)

4 ค้อนหัวอ่อน ค้อนยาง (Rubber Hammer) ค้อนพลาสติก (Plastic Hammer)
ค้อนไม้ (Wooden Mallet)

5 ส่วนประกอบ ของค้อน

6 การใช้งาน ของค้อน

7 (Universal Cutting Pliers)
คีมยูนิเวอร์แซล (Universal Cutting Pliers) คีมปากแหลม (Long-nosePliers) คีมปากกลม (Round-nose Pliers) คีมตัดด้านข้าง (Side Cutting Pliers)

8 คีมปากนกแก้ว (Pincers)
คีมปรับความกว้างของปากได้ (Slip Joint Pliers) คีมปอกสายไฟ คีมล็อค (Vise Grip Pliers)

9 วิธีการใช้และบำรุงรักษาคีม
1. อย่าให้คีมถูกความร้อน เพราะจะทำให้คีมซึ่งทำจากเหล็ก มี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและชำรุดได้ง่าย 2. ควรใช้คีมในลักษณะตั้งฉาก ไม่ควรบิดคีมไปมาขณะตัดลวด 3. อย่าใช้คีมแทนค้อน เพราะคีมอาจ แตกหักได้ 4. อย่าใช้คีมขันนัตหรือหัวของสลักเกลียว เพราะอาจทำให้ เหลี่ยมของนัตหรือหัวของสลักเกลียวเสียได้ ควรใช้ประแจ ปากตายขัน 5. รักษาคีมให้พร้อมใช้งานตลอดเวลาโดยดูแลหยอดน้ำมันหล่อลื่นบริเวณจุดหมุน เพื่อป้องกันการฝืดซึ่งเกิดจากสนิม 6. เมื่อมีการนำคีมไปใช้เกี่ยวกับกระแสไฟ ต้องแน่ใจว่าปลอกยางหรือพลาสติกที่หุ้มอยู่ไม่ชำรุด และมีความหนาเพียงพอที่ช่วยป้องกันไฟดูดได้

10 ประแจ ( Wrench ) ประแจปากตาย (Open End Wrench)

11 การใช้งานประแจปากตาย

12 ประแจแหวน (Box Wrench)

13 ประแจปากผสม (Combination Box and Open-End)

14 ประแจเลื่อน (Adjustable Wrenches)
วิธีการใช้ประแจเลื่อน ต้องปรับปากล่างให้แนบแน่นกับหัวของสลักเกลียว เมื่อจะทำการขันให้แน่นให้ใช้วิธีดึงลง โดยให้ด้านที่รับแรงกดเป็นด้านที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เพราะมีความแข็งแรงมากกว่า

15 ประแจจับท่อ (Pipe Wrench)
ประแจปากลิง (Monkey Wrench)

16 ชุดประแจกระบอก (Socket Wrench Set)

17 (Socket Wrench Set)

18 ประแจตะขอ (Spanner Wrench)

19 ประแจแอล หรือประแจหกเหลี่ยม (Allen or Hexagonal Wrench (Socket Head) )

20 วิธีการใช้และการบำรุงรักษาประแจ
เลือกประแจที่ขนาดพอดีกับขนาดของนัต หรือหัวของสลักเกลียว เพราะถ้าขนาดของประแจใหญ่เกิน ไปแล้ว จะทำให้เหลี่ยมของนัดหรือสลักเกลียวเยินได้

21 ไขควงปากแฉก หรือไขควงฟิลิปส์ (Philips Screwdriver)
ไขควง (Serew driver) ไขควงปากแบน (Flat Screwdriver) ไขควงปากแฉก หรือไขควงฟิลิปส์ (Philips Screwdriver)

22 การใช้งาน ไขควงแบน

23 ไขควงเยื้องศูนย์ (Offset Screwdriver) ไขควงสตับบี้ (Stubby Screwdriver)

24 ตัดซ้าย ตัดตรง ตัดขวา

25 ด้าม tap

26 Bottoming plug Taper

27 ชุดทำเกลียว

28 ดอก Die

29 ดอกเจาะนำศูนย์

30 อุปกรณ์จับยึด (Figtures)
ปากกาช่างกล (Machinical Vise) ปากกาจับเจาะ (Drilling Vise )

31 แคลมป์ (Clamp) ซีแคลมป์ (C-Clamp) แคลมป์ขนาน (Parallel Clamp)
แคลมป์ข้อศอก (Toggle Clamp)

32 แคลมป์ขั้นบันได (Step Clamp) แคลมป์สกรู (Screw Clamp)

33 แคลมป์ลูกเบี้ยว (Cam-action Clamp) วีบล็อค (V-blocks)

34 เครื่องกลเบื้องต้น เครื่องกลึง หัวจับ (Chuck) หัวจับแบบ 4 จับอิสระ
หัวจับแบบ 3 จับพร้อม หัวจับแบบ 4 จับพร้อม หัวจับแบบ 4 จับอิสระ

35 ดอกเจาะเพื่อยันศูนย์
เหล็กยันศูนย์ท้ายแท่น ยันศูนย์ตาย ยันศูนย์หมุน ดอกเจาะเพื่อยันศูนย์

36 เครื่องเจาะตั้งโต๊ะ (Drilling Machine)

37 เครื่องเลื่อยกล


ดาวน์โหลด ppt เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกลเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google