งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า

2 หม้อหุงข้าวไฟฟ้าเป็นวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีของมนุษย์ที่ใช้ความร้อนจากไฟฟ้าหุงข้าวให้สุกอย่างอัตโนมัติ และรักษาอุณหภูมิของข้าว หม้อหุงข้าวได้พัฒนารูปแบบต่างๆ ดังนี้ - ระบบไอน้ำ - ระบบเปิด-ปิดอัตโนมัติ - ระบบที่สามารถประกอบอาหารได้ เช่น ต้มและนึ่ง เป็นต้น

3 หม้อหุงข้าวมีหลายขนาด ให้เลือกตามความต้องการ
      หม้อหุงข้าวที่ใช้ในบ้านใช้กับแรงเคลื่อนไฟฟ้า220 โวลต์ 50 เฮิร์ต 0.27ลิตร 0.6 ลิตร 1.8ลิตร 2 ลิตร

4 อุปกรณ์ของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
อุปกรณ์ของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า        1. อุปกรณ์ให้ความร้อน 2. อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ

5 1. อุปกรณ์ให้ความร้อน แผ่นความร้อนจะอยู่ที่ก้นของหม้อทำหน้าที่ให้ความร้อนในการหุงข้าว แผ่นความร้อนที่ใช้นี้เป็นแบบปิด (Closing Heating Element) ด้านบน ด้านล่าง

6 ในปัจจุบัน หม้อหุงข้าวรุ่นใหม่จะ ใช้แผ่นความร้อนแบบปิด
แผ่นความร้อนหม้อหุงข้าวมี 2 แบบ คือ 1. แผ่นความร้อนแบบกึ่งปิด มีลักษณะเป็นวงแหวนทำจากลวดนิโครมชนิดแบนพันรอบแผ่น ไมก้า ประกบทับอีกทีหนึ่ง 2. แผ่นความร้อนแบบปิด จะทำด้วยลวดนิโครมที่มีลักษณะ คล้ายสปริง หุ้มด้วย ผงฉนวน หล่อด้วยอลูมิเนียม มีขั้วต่อสายออกมาสองขั้ว ในปัจจุบัน หม้อหุงข้าวรุ่นใหม่จะ ใช้แผ่นความร้อนแบบปิด

7 2. อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ
เทอร์โมสตัท(Thermostat) เป็นแบบแม่เหล็กจะยึดติดอยู่ที่ก้นของตัวหม้อชั้นนอก ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิในการหุงข้าวให้พอดี ไม่ให้ร้อนมากจนเกินไป

8 โครงสร้างของเทอร์โมสตัท
1. คานบังคับ 2.หน้าสัมผัส 3.สวิตช์ ชุดแม่เหล็ก

9 หลักการทำงานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
เริ่มต้นจากการเสียบปลั๊กเพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่แผ่นความร้อน ความร้อนที่ได้รับจะถ่ายเทไปยังแผ่นนึ่ง และส่งต่อไปยังหม้อหุงข้าวชั้นในเพื่อทำให้ข้าวสุก เมื่อข้าวสุก ชุดควบคุมอุณหภูมิจะทำการตัดกระแสไฟฟ้าไปที่วงจรการอุ่นข้าว ซึ่งเป็นวงจรขนาดเล็กเกิดความร้อนน้อยจึงเหมาะสำหรับอุ่น

10 ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
1. ที่จับฝาหม้อภายนอก 2. ฝาปิดหม้อ 3. หูจับหม้อชั้นนอก 4. หม้อชั้นใน 5. หม้อชั้นนอก 6. ชุดควบคุมแสดงการทำงาน

11 วิธีการใช้หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
1. เมื่อซาวข้าวเสร็จแล้วเติมน้ำตามปริมาณที่พอเหมาะในการหุง 2. เช็ดทำความสะอาดหม้อในให้แห้ง ไม่มีเศษข้าวอยู่ที่ก้นหม้อและรอบ ๆ ตัวหม้อ เช็ดแผ่นความร้อนให้แห้ง 3.วางหม้อในลงในหม้อชั้นนอก ขอบหม้อไม่ค้ำกันและปิดฝาหม้อ 4. เสียบปลั๊กไฟ กดปุ่มหุงต้ม (COOK)จะมีไฟขึ้น แสดงว่าหม้อหุงข้าวกำลังทำงาน เมื่อข้าวสุกสวิตซ์จะดีดขึ้นเอง ไฟจะสว่างที่ปุ่มอุ่น(warm) ถอดปลั๊กออก แต่ยังไม่ควรเปิดฝาหม้อ ควรรออีก นาที เพื่อให้ข้าวที่หุงนุ่มมากขึ้น

12 การบำรุงรักษาหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
1. อย่ากดสวิทช์หุงเมื่อไม่มีหม้อในและข้าวที่หุงอยู่ ถึงแม้หม้อข้าวจะมีระบบนิรภัยไว้แล้ว 2. อย่าใช้วัตถุมีคม ถูหรือขัดหม้อชั้นใน เพราะจะทำให้สารที่เคลือบหม้อหลุดไปได้ 3. อย่าเสียบปลั๊กหรือจับหม้อชั้นนอกขณะที่มือเปียก เพราะอาจเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว 4. ถอดปลั๊กไฟออกทุกครั้งหลังจากการใช้งาน

13 5. ก่อนหุงข้าวเช็ดหม้อใน และแผ่นก่อนการใช้งานเช็ดหม้อชั้นในและแผ่นความร้อนให้แห้งสะอาดเสียก่อน 6. เมื่อกดสวิตช์หุง ถ้ากดไม่ติดห้ามใช้วัสดุใดค้ำหรือกดคาไว้

14 7. ระวังอย่าให้บริเวณก้นหม้อ และบริเวณขอบหม้อถูกกระแทกบุบ เพราะจะทำให้การวางหม้อในไม่สนิทแนบแผ่นความร้อน 8. การใช้หม้อหุงข้าวครั้งต่อไป ควรรอประมาณ 10 นาที เพื่อให้หม้อหุงข้าวมีอุณหภูมิกลับสู่ปกติก่อน

15 9.ไม่ควรนำทับพีไว้ ในหม้อข้าวอาจทำให้สารที่เคลือบอยู่ในหม้อชั้นในได้รับความร้อนจะละลายเจือปนกับข้าว
10.ไม่ควรนำถุงอาหาร ไปอุ่นในหม้อข้าว เพราะจะทำให้เสียพลังงาน ความร้อนและสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า ทำให้หม้อหุงข้าวเสื่อมเร็ว

16 จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ ชั้น ปวส.2/1 แผนกการบัญชี เลขที่ 39
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ จัดทำโดย นางสาวอรชนก แสนคำ ชั้น ปวส.2/1 แผนกการบัญชี เลขที่ 39


ดาวน์โหลด ppt เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google