การพัฒนาทักษะการคิด การฟัง และการพูด โดย สรัสวดี มุสิกบุตร
ทำไมนักฟัง..จึงเป็นผู้นำที่ทรงประสิทธิภาพ เพราะผู้นำต้องเข้าใจคนอื่น ก่อนที่จะนำเขา การเรียนรู้ที่ดีที่สุดคือการฟัง การรับฟังยับยั้งปัญหาไม่ให้ขยายใหญ่โต
การรับฟังสร้างความไว้วางใจ การฟังช่วยปรับปรุงองค์กร
ความสำคัญของการพูด การพูดคือ เรื่องของการสื่อความหมาย (Communication) ซึ่งกันและกันในสังคม
ตัวอย่างของความสำคัญของการพูด การพูดเข้าใจง่ายกว่าการสื่อสารอื่นๆ การพูดเป็นเครื่องมือของการสมาคม การพูดช่วยก่อให้เกิดความเข้าใจกัน การพูดช่วยปลอบประโลมใจคลายทุกข์
จุดมุ่งหมายของ การศึกษาที่ว่าด้วยการพูด เพื่อให้รู้จักการสื่อสารด้วยคำพูดที่ถูกต้อง เพื่อให้เตรียมตัวเป็นผู้นำที่ดี เพื่อวางรากฐานของประชาธิปไตย
เพื่อให้รู้หลักเกณฑ์การพูด เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ เพื่อให้รู้หลักเกณฑ์การพูด
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน (The Art of Public Speaking)
วิธีการพูดในที่ชุมชน 1. พูดแบบท่องจำ 2. พูดแบบมีต้นฉบับ 3. พูดจากความเข้าใจ 4. พูดแบบกะทันหัน
การพูดในที่ชุมชน 1.การพูดอย่างเป็นทางการ 2. การพูดอย่างไม่เป็นทางการ 3. การพูดกึ่งทางการ
การเตรียมตัวในการพูดในที่ชุมชน 1.จุดมุ่งหมายในการพูด 2.วิเคราะห์ผู้ฟัง 3.กำหนดขอบเขต เนื้อเรื่อง เวลา
4.รวบรวมเนื้อหา 5. เรียงเรียงเนื้อหา 6. ซ้อมพูด
ข้อแนะนำเมื่อต้องพูด เมื่อได้รับเกียรติให้พูด ลุกขึ้นเดินไปด้วยความสง่างาม เรียงลำดับก่อนหลัง โดยเสนอแนวคิดที่กระชับที่สุด
ในกรณีตอบคำถาม ทักทาย ทบทวน ตอบเรียงลำดับ ประเด็นอย่างกระชับ ผู้พูดต้องมีปฏิภาณ ความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหา สร้างสรรค์
โครงสร้างการพูด 1. คำนำ หรือการเริ่มต้น (Introduction) 2. เนื้อเรื่อง หรือสาระสำคัญของเรื่อง (Discussion) 3. สรุปจบ หรือการลงท้าย (Conclusion)
คำนำ 5 - 10 % เนื้อเรื่อง 80 -90% สรุปจบ 5 - 10 %
ข้อพึงหลีกเลี่ยงในการขึ้นต้น ข้อพึงหลีกเลี่ยงในการขึ้นต้น • อย่าออกตัว • อย่าขออภัย • อย่าถ่อมตน • อย่าอ้อมค้อม
การทักที่ประชุม
คำนำ รวบรัด เร้าอารมณ์ เปิดประเด็น พาดหัวข่าว กล่าวคำถาม ทำให้สงสัย ใช้บทกวี มีความสนุก
เนื้อหา เป็นลำดับไม่สับสน เหตุผลไม่ขัดกัน ตั้งมั่นในประเด็น มีตัวอย่างให้เห็นเป็นรูปธรรม ใช้อวัจนภาษาช่วย พร้อมเพิ่มเติมหรือตัดทอน
ใช้สุภาษิต-คำคม-อ้างอิง ปลุกระดมชักชวน เปิดเผยส่วนสำคัญของเรื่อง สรุปจบ สรุปความ ถามให้คิด ใช้สุภาษิต-คำคม-อ้างอิง ปลุกระดมชักชวน เปิดเผยส่วนสำคัญของเรื่อง !!สัมพันธ์กับเนื้อหา กะทัดรัดชัดเจน
ข้อควรหลีกเลี่ยงในการสรุปจบ ข้อควรหลีกเลี่ยงในการสรุปจบ 1. ขอจบ ขอยุติ 2. ไม่มากก็น้อย 3. ขออภัย ขอโทษ 4. ขอบคุณ
การพูดอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ภาษา น้ำเสียง การใช้สายตา การเดิน การทรงตัว
การแสดงออกทางใบหน้า การแสดงท่าทาง การแต่งกาย การใช้ไมโครโฟน ความเชื่อมั่นในตนเอง
ในการเป็นพิธีกรและวิทยากร เทคนิค 7 ประการ ในการเป็นพิธีกรและวิทยากร • ต้องมีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ (พักผ่อนเพียงพอ ) • ต้องมาถึงบริเวณงานก่อนเวลา (อย่างน้อยครึ่งชั่วโมง )
• สำรวจความพร้อมของเวที แสง สี และเสียง (ทดสอบจนแน่ใจ) • เปิดรายการด้วยความสดชื่น กระปรี้กระเปร่า • ดึงดูดความสนใจมาสู่เวทีได้ตลอดเวลา (ทุกครั้งที่พูด) อย่าทิ้งเวที
• แก้ปัญหาหรือควบคุมสถานการณ์ เฉพาะหน้าได้อย่างดี • ดำเนินรายการจนจบ หรือบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
พิธีกรจึงต้องมีความรู้พื้นฐาน 4 อย่าง รู้ลำดับรายการ รู้รายละเอียดของแต่ละรายการ รู้จักผู้เกี่ยวข้องในแต่ละรายการ (ใครจะมารับช่วงเวทีต่อไป ) • รู้กาลเทศะ ( ไม่เล่นหรือล้อเลียน จนเกินขอบเขต ต้องมีความพอดี )
ข้อแนะนำสำหรับผู้ทำหน้าที่ พิธีกร และโฆษก • มีบุคลิกภาพดี • ขณะพูดหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส • มีปฏิภาณไหวพริบแก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ มีความคล่องตัว สร้างบรรยากาศให้มีความเป็นกันเอง
• พูดให้สั้น ได้เนื้อหาสาระ พูดบวก ให้เกียรติผู้ฟัง ศึกษาเรื่องราวที่จะต้องทำหน้าที่ นำเสนอรายการเป็นอย่างดี จัดลำดับการเสนอสาระอย่างมีขอบเขต มีทัศนคติที่ดีต่อหน้าที่ที่จะต้องทำ และมีความรับผิดชอบ
การกล่าวอวยพร อวยพรขึ้นบ้านใหม่ อวยพรวันเกิด อวยพรคู่สมรส
คำไว้อาลัย ผู้เสียชีวิต ผู้เกษียณอายุ
ลักษณะทั่วไปของคำกล่าวไว้อาลัย • กล่าวถึงประวัติผู้ตายหรือผู้ที่จากไปอย่างสั้นๆ • กล่าวถึงผลงานของผู้นั้น • สาเหตุของการเสียชีวิต หรือจากไป • กล่าวถึงความอาลัยของผู้ที่อยู่เบื้องหลัง • แสดงความว่าที่ผู้จากไป จะไปอยู่สถานที่ดีและมีความสุข