การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

11. การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบเชิงสัมพันธ์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
รายละเอียดของการทำ Logbook
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
ชื่อ-นามสกุลนักศึกษา รหัสนักศึกษา เลขที่ CS99
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
รายละเอียดของการทำ Logbook
ตัวอย่างการสร้าง Class Diagram
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture 8 Database Output (Form and Report Design)
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
SCC : Suthida Chaichomchuen
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แบบฝึกหัด 1. จงวาดรูป ER Diagram ของระบบร้านเช่าวีดีโอแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย แฟ้มสมาชิก(member) ข้อมูลที่เก็บ รหัสลูกค้า , ชื่อ , ที่อยู่,เบอร์โทร แฟ้มชื่อเรื่อง(title)
การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น (Database Management System)
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
นำเสนอหนังสือวิชาการ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ซอฟแวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (MySQL)
Entity Relationship Model
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
Data Modeling Chapter 6.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
ความสัมพันธ์ (Relationship)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
Chapter 1 : Introduction to Database System
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Introduction to Database
การสร้างสื่อ e-Learning
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา รายละเอียดและลักษณะหน้าที่ของระบบงาน ในคณะหนึ่งประกอบด้วยภาควิชาต่าง ๆ และในแต่ละภาควิชาประกอบด้วยอาจารย์หลายคน ซึ่งอาจารย์แต่ละคนจะสังกัดภาควิชาใดภาควิชาหนึ่งเท่านั้น อาจารย์แต่ละคนจะทำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาให้กับนักศึกษาหลายคนในภาควิชา รวมทั้งทำการสอนชุดวิชาต่าง ๆ ตามหลักสูตรที่เปิดให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษา โดยอาจารย์หนึ่งคนอาจสอนหลายชุดวิชา ซึ่งในแต่ละชุดวิชาอาจมีได้มากกว่าหนึ่งหมู่เรียน นอกจากนี้ในแต่ละภาควิชาประกอบด้วยนักศึกษาหลายคน ซึ่งนักศึกษาแต่ละคนจะสังกัดภาควิชาใดภาควิชาหนึ่งเท่านั้น โดยนักศึกษาแต่ละคนจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคน ในหนึ่งภาคการศึกษา จะมีชุดวิชาในหลักสูตรที่เปิดให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายชุดวิชา ซึ่งนักศึกษาทุกคนจะต้องลงทะเบียนเรียนอย่างน้อยหนึ่งชุดวิชา โดยในแต่ละชุดวิชาที่เปิดทำการสอนอาจมีได้มากกว่าหนึ่งหมู่เรียน ซึ่งในแต่ละหมู่เรียนจะมีอาจารย์ผู้สอนเพียงหนึ่งคนเท่านั้น

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา รายงานข้อมูลพื้นฐานทั่วไปที่ต้องการ ได้แก่ รายชื่อนักศึกษาในแต่ละภาควิชา รายชื่อนักศึกษาในความดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละคน เป็นต้น รายงานข้อมูลที่ต้องการในแต่ละภาคการศึกษาได้แก่ ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาแต่ละคน รายงานผลการสอบของนักศึกษาแต่ละคน รายชื่อนักศึกษา

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา การกำหนดเอนทิตีและความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี เอนทิตีภาควิชา เป็นเอนทิตีที่แสดงรายละเอียดของแต่ละภาควิชา เอนทิตีอาจารย์ เป็นเอนทิตีที่แสดงรายละเอียดของอาจารย์แต่ละคน เอนทิตีนักศึกษา เป็นเอนทิตีที่แสดงรายละเอียดของนักศึกษาแต่ละคน เอนทิตีหลักสูตร เป็นเอนทิตีที่แสดงรายละเอียดของชุดวิชาต่าง ๆ

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา เมื่อทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีจะพบว่า มี 5 ความสัมพันธ์ คือ ความสัมพันธ์สังกัด เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างเอนทิตีภาควิชาและเอนทิตีอาจารย์ เนื่องจากในหนึ่งภาควิชาประกอบด้วยอาจารย์หลายคน และอาจารย์หนึ่งคนจะสังกัดเพียงหนึ่งภาควิชาเท่านั้น ความสัมพันธ์สังกัด เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างเอนทิตีภาควิชาและเอนทิตีนักศึกษา เนื่องจากในหนึ่งภาควิชาประกอบด้วยนักศึกษาหลายคน และนักศึกษาแต่ละจะสังกัดเพียงหนึ่งภาควิชาเท่านั้น ความสัมพันธ์ที่ปรึกษา เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างเอนทิตีอาจารย์และเอนทิตีนักศึกษา เนื่องจากอาจารย์หนึ่งคนสามารถเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่นักศึกษาได้หลายคนและนักศึกษาหนึ่งคนจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาเพียงคนเดียวเท่านั้น

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา ความสัมพันธ์การลงทะเบียน เป็นความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่มระหว่างเอนทิตีนักศึกษาและเอนทิตีหลักสูตร เนื่องจากในแต่ละภาคการศึกษา นักศึกษาหลายคนสามารถลงทะเบียนเรียนนชุดวิชาเดียวกันได้ และนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายชุดวิชา ความสัมพันธ์การสอน เป็นความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่มระหว่างเอนทิตีอาจารย์และเอนทิตีหลักสูตร เนื่องจากในแต่ละภาคการศึกษา อาจารย์หนึ่งคนสามารถสอนได้หลายชุดวิชา และในหนึ่งชุดวิชาอาจมีอาจารย์ผู้สอนได้หลายคน เนื่องจากในหนึ่งชุดวิชาอาจมีได้มากกว่าหนึ่งหมู่เรียน

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา การแปลงเอนทิตีและความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีให้เป็นรีเลชัน ระบบฐานข้อมูลนักศึกษาจะประกอบด้วย 6 รีเลชัน คือ รีเลชันภาควิชา รีเลชันอาจารย์รีเลชันนักศึกษา รีเลชันหลักสูตร รีเลชันการลงทะเบียน และรีเลชันการสอน โดยมีความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน 7 ความสัมพันธ์ คือ ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างรีเลชันภาควิชาและรีเลชันอาจารย์ ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างรีเลชันภาควิชาและรีเลชันนักศึกษา ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างรีเลชันอาจารย์และรีเลชันนักศึกษา ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างรีเลชันนักศึกษาและรีเลชันการลงทะเบียน ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างรีเลชันหลักสูตรและรีเลชันการลงทะเบียน ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างรีเลชันอาจารย์และรีเลชันการสอน ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มระหว่างรีเลชันหลักสูตรและรีเลชันการสอน

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา การกำหนดแอททริบิวต์ต่าง ๆ คีย์หลัก และคีย์นอกในแต่ละรีเลชัน รีเลชันภาควิชา ประกอบด้วยแอททริบิวต์ รหัสภาควิชา ชื่อภาควิชา ที่ตั้งของภาควิชา โดยมีแอททริบิวต์รหัสภาควิชาเป็นคีย์หลัก รหัสภาควิชา ชื่อภาควิชา ที่ตั้งของภาควิชา

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลนักศึกษา การทำให้รีเลชันมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน รวบรวมและทบทวนการออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด