ประวัติความเป็นมา แต่ก่อนชาวบ้านมะค่าอาศัยที่พิมาย ต่อมาเกิดศึกกวาดไพร่ขึ้น คือ ได้มี กษัตริย์ของลาว คือ เจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทร์ได้ยกกองทัพมาเพื่อกวาด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ราชบุรี นายประกอบ วงศ์มณีรุ่ง นายวรวุฒิ เจริญเชื้อ
อาณาเขต ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 15.5 ไร่ ทิศเหนือจรดคลอง บางเขน ทิศใต้จรดถนนงาม วงศ์วาน ทิศตะวันออกจรดคลอง เปรมประชากร ทิศตะวันตกจรดติดที่ดิน เอกชน.
สุพรรณบุรี นายวีรวุฒิ ประวัติ นายสมศักดิ์ วิริยะธนาวุฒิวงษ์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายสรกฤษณ์ เมือง สนธิ์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายวิชัย เพ็ญดี หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุภาภรณ์ ไชยเวช หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายจีระ.
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านดอนยม หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขอนยาง
ข้อมูลท้องถิ่นบ้านขิงแคง
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติความเป็นมา แต่ก่อนชาวบ้านมะค่าอาศัยที่พิมาย ต่อมาเกิดศึกกวาดไพร่ขึ้น คือ ได้มี กษัตริย์ของลาว คือ เจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทร์ได้ยกกองทัพมาเพื่อกวาด ตัวเอาประชาชนไทยกลับไปยังเวียงจันทร์ แต่ด้วยนิสัยของคนไทยที่รักความ สงบจึงได้มีบุคคลสำคัญ 2 คน คือ หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาซึ่งเป็น พระภิกษุในศาสนาพุทธ ได้พาครอบครัวคนไทยประมาณ 20 ครัวเรือน อพยพมาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพิมายมาเรื่อยๆ จนมาถึงบริเวณดง ห้วยต่า แต่บริเวณที่หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาอพยพมานั้นมีลักษณะเด่น คือ มีขมิ้นป่าขึ้นเยอะ หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาจึงตกลงกันตั้งหมู่บ้านขึ้น และให้ใช้ชื่อหมู่บ้านว่า หมู่บ้านดอนขมิ้น หรือ ขมิ้นหนองสอ (ซึ่งในปัจจุบันนี้ เป็นที่ตั้งของโรงเรียนมะค่าพิทยาคมและวัดป่าศรีประชาวนาราม) หลังจากที่ หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาอาศัยอยู่ที่ดอนขมิ้นหลายสิบปี

ประวัติความเป็นมา(ต่อ) ลูกบ้านก็มีมากขึ้นจึงมีปัญหาเกิดขึ้น คือ พื้นที่เพาะปลูกไม่เพียงพอ ดังนั้น หลวงพ่อดาจึงพาลูกบ้านส่วนหนึ่งอพยพไปทางทิศตะวันออกของหมู่บ้านดอน ขมิ้น แล้วก็ได้พบหนองน้ำแห่งหนึ่ง คือ ลำน้ำกุดใส้จ่อ หรือ หนองกอย หลวงพ่อดาเห็น ว่าทำเลดีจึงตั้งรกรากอยู่ทางฝั่งซ้ายของล้ำน้ำกุดใส้จ่อและให้ชื่อหมู่บ้านว่า หมู่บ้านกุด ใส้จ่อมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนหลวงพ่อฝ้ายก็ได้อพยพลูกบ้านมาทางทิศตะวันตกของหมู่บ้านดอนขมิ้นจนมา พบบริเวณที่ราบสูงแห่งหนึ่ง ซึ่งมีต้นมะค่าโม่งขึ้นอยู่มากมายและเป็นบริเวณที่กว้าง กับ ทางด้านทิศใต้และทิศตะวันตกเป็นที่ราบสูงอันกว้างใหญ่และมีน้ำขังในฤดูฝนอันเหมาะ แก่การปลูกข้าว ส่วนทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกเป็นที่ราบสูงเหมาะแก่การปลูก พืชไร่ เช่น ถั่ว งา ฝ้าย ฯลฯ เมื่อหลวงพ่อฝ้ายมาเห็นภูมิประเทศที่เหมาะสมที่จะตั้ง หมู่บ้านจึงพาลูกบ้านตั้งหมู่บ้านขึ้นที่ดอนมะค่าโม่งและ ตั้งชื่อบ้านว่ามะค่ามาจนตราบทุกวันนี้

ที่ตั้งอาณาเขตติดต่อของหมู่บ้าน ทิศเหนือ จดกับ ตำบลกุดใส้จ่อ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม ทิศตะวันออก จดกับ ตำบลโคกสะอาดและตำบลฆ้องชัย พัฒนา กิ่งอำเภอฆ้องชัยจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ จดกับ ตำบลลาดพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัด มหาสารคาม ทิศตะวันตก จดกับ ตำบลขามเฒ่าพัฒนา อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม

จำนวนประชากรของหมู่บ้าน จำนวนประชากรทั้งสิ้น 374 คน เป็นชาย 183 คน เป็นหญิง 191 คน จำนวนครัวเรือน 98 ครัวเรือน ข้อมูลอาชีพของหมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรซึ่งอาศัยน้ำชลประทานนอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพค้าขาย รับราชการและรับจ้างแบ่งได้ดังนี้ อาชีพเกษตรกรรม (ทำนา) 93% ค้าขาย 4% รับราชการ 3% อัตราค่าจ้างแรงงานในหมู่บ้าน 150 บาท ประชากรมีรายได้เฉลี่ย 35,721 บาท/คน/ปี 

สถานที่สำคัญของหมู่บ้าน 1.โรงเรียนชุมชนบ้านมะค่า สถานที่สำคัญของหมู่บ้าน 1.โรงเรียนชุมชนบ้านมะค่า

2.วัด

3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะค่า

4.สถานีตำรวจภูธรตำบลมะค่า

5.ดอนปู่ตา

กลุ่มแม่บ้านเกษตรมะค่าพัฒนา(ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรไทย) ประวัติการจัดตั้งกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านเกษตรมะค่าพัฒนาหรือศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรไทยก่อตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ.2544ก่อตั้งโดย นางหนูเลี่ยม รักหบุตร ซึ่งนางหนูเลี่ยมได้ไปเที่ยวที่ ประเทศญี่ปุ่น แล้วก็ไปเห็นชาวญี่ปุ่นนิยมอบสมุนไพร อาบน้ำแร่ ก็เลยนำ แนวคิคมาทำเพราะวัตถุดิบในชุมชนนั้นหาง่าย จึงแนะนำและชักชวนเพื่อน บ้านมาทำเริ่มแรกมีสมาชิก 9 คน ได้ลงขันกันคนละ 120บาท ในการทำครั้ง แรกและได้จดทะเบียนเมื่อ พ.ศ.2546 ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด46คน สินค้าที่ทำคือ ลูกประคบสมุนไพร หมอนสมุนไพร ยาอบสมุนไพร มะรุมแคปซูน ขมิ้นแคปซูน ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันเหลืองสมุนไพร

สมาชิกในกลุ่ม 1. แม่หนูเลี่ยม รักหบุตร 2. แม่เยี่ยม เคนหวด 3 สมาชิกในกลุ่ม 1. แม่หนูเลี่ยม รักหบุตร 2. แม่เยี่ยม เคนหวด 3. แม่สนั่น ศรีบุญเรือง 4. แม่สวย เขมราร 5. แม่สวน จำนงนิตย์ 6. แม่ดง พูนโพก 7. แม่ลำ นรสิงห์ 8. แม่วิไล ใจมน

บัญชีรายรับรายจ่าย ภายในกลุ่มจะมีการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย รายได้ต่อเดือนประมาน25,000บาท/เดือน ขึ้นตามสภาพเศรษฐกิจและ ออเดอร์ การจัดการรายได้ บริหารกลุ่ม 30 % ปันผลสมาชิก 70 % โดยคนที่ทำจริงจะได้ 8 % นอกนั้นเป็นสมาชิกซึ่งจะปันผลร้อยละ 20 บาท ซื้อหุ่นละ 100 บาท หนึ่งคนซื้อได้ไม่เกิน10,000 บาท หรือ100หุ้น

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.สหกรณ์การเกษตร 2.เกษตรอำเภอ,เกษตรจังหวัด 3.กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 4.พัฒนาชุมชน 5.อบต.บ้านมะค่า 6.OTOPมหาสารคาม

หมอนสมุนไพร

อุปกรณ์ในการทำหมอนสมุนไพร 1. ผ้าขิด 2. ไม้ 3. เข็ม 4. เขียง 5. มีด 6 อุปกรณ์ในการทำหมอนสมุนไพร 1. ผ้าขิด 2. ไม้ 3. เข็ม 4. เขียง 5. มีด 6. ตะไคร้ ตะไคร้ ใบหนาด 7. ข่า 8. ไพร 9. ขมิ้น 10. ใบเตย 11. ใบหนาด 12. เป้าหอม 13. หว้านหอม 14. ผิวมะกรูด 15. ใยสังเคราะห์ หรือนุ่น ใบเตย ขมิ้น

ขั้นตอนการทำหมอนสมุนไพร 1 ขั้นตอนการทำหมอนสมุนไพร 1. นำสมุนไพรแต่ละชนิดมาล้างน้ำหลายๆ ครั้ง ให้สะอาด แล้วผึ่งให้ สะเด็ดน้ำ 2. นำสมุนไพรมาหั่นเป็นชิ้นบางๆ 3. นำสมุนไพรที่หั่นเสร็จแล้วไปตากให้แห้ง 4. นำสมุนไพรที่ตากแห้งแล้วมาผสมกัน 5. นำสมุนไพรมายัดเข้ากับตัวหมอนที่เตรียมไว้ 6. เมื่อยัดเสร็จแล้วก็เข้าหน้าหมอนให้เรียบร้อย 7. เมื่อเข้าหน้าหมอนเสร็จแล้วก็ติดฉลากและห่อด้วยพลาสติกใส

การผึ่งสมุนไพร การหั่นสมุนไพร การตากสมุนไพร การยัดหมอน1 การยัดหมอน2

การยัดหมอน3 การเข้าหน้าหมอน การเย็บปิดหน้าหมอน หมอนที่ยัดเสร็จแล้ว หมอนที่ติดฉลากและห่อพลาสติก เสร็จแล้ว

ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ 1. ใช้ในการรักษาโรค โดยไม่ต้องใช้ยาแผนปัจจุบัน 2. ใช้ในการบรรเทาอาการเจ็บป่วยของบุคลากรในชุมชน 3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้บางชนิดสามารถใช้เป็นของประดับตกแต่งไ้ด้ 4. ผลิตภัณฑ์ที่ได้ปลอดภัยจากสารอันตราย เพราะทำจากสมุนไพร พื้นบ้าน 5. สร้างรายได้ให้กับบุคลากรในชุมชน 6. ผลิตภัณฑ์ที่ทำมีขนาดพอเหมาะสามารถพกพาได้สะดวก 7. ผลิตภัณฑ์ที่ได้ใช้งานและใช้ได้กับคนทุกวัย 8. ผลิตภัณฑ์ที่ได้สามารถใช้เป็นของฝากของที่ระลึกให้แขกในงานต่างๆ ได้

ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ(ต่อ) 9. เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของคนสมัยก่อนให้ยังคงอยู่ 10. สมุนไพรที่บรรจุในผลิตภัณฑ์ช่วยในการไหลเวียนของเลือด 11. เป็นการนำสิ่งที่มีค่ามาใช้ประโยชน์โดยการทำเป็นผลิตภัณฑ์ 12. ผลิตภัณฑ์ต่างๆสามารถทำเป็นสินค้าOTOP ของชุมชนได้ 13. สมุนไพรต่างๆ สามารถรักษาโรคได้มากกว่า 1 โรค 14. สร้างความร่วมมือ สามัคคี ให้กับคนในกลุ่ม 15. ผลิตภัณฑ์มีหลากหลายรูปแบบทำให้สามารถใช้งานได้ง่าย และ เหมาะสม

นายอำนาจ คำโคกสี จบการนำเสนอ สวัสดีครับ