น้ำท่วม 2554
ปัญหาและแนวทางปฏิบัติ ระบบบริหารและผู้รับผิดชอบ การติดต่อสื่อสาร ระบบความปลอดภัย การบริการและการจัดสรรทรัพยากร แผนภัยพิบัติ (อิงแผนอุบัติเหตุหมู่)
ระบบบริหารและผู้รับผิดชอบ Planning กรรมการบริหารรพ./คณะ Incident commander ผอ.รพ./คณบดี Public information Officer ประชาสัมพันธ์(ผอ./รองบริหาร/รองบริการ) Liaison officer รองบริหาร Safety officer รองIT, ผช.กายภาพ Logistics รองสนับสนุน Operations รองบริการ หน.พยาบาล ผช.วิกฤต Finance / Admin รองคลัง รองHR
การช่วยเหลือผู้ประสบภัย การรับผู้ป่วยส่งต่อ ผู้ป่วยวิกฤต สำรองเตียงรับผู้ป่วย การออกให้บริการนอกสถานที่ บริเวณผู้ประสบภัย / ผู้อพยพ พื้นที่ที่รับผิดชอบ การเลื่อนนัดของผู้ป่วยเดิม อำนวยความสะดวกในการนัดครั้งต่อไป
การป้องกันรพ.และคณะ บริเวณที่มีความเสี่ยงสูง ชั้นใต้ดิน อุปกรณ์ไฟฟ้า, เครื่องปั่นไฟ, Electronics, server, Xray? ยาและเวชภัณฑ์ราคาสูง บริเวณที่มีความเสี่ยง ถนนและทางเดิน หอผู้ป่วย,อาคารเรียน หอพัก
ประตู บริเวณเสี่ยงสูง 11
การป้องกัน เบื้องต้นเฉพาะบริเวณความเสี่ยงสูง กั้นกำแพง ถุงทราย(3000กระสอบ) เครื่องสูบน้ำ ยกของขึ้นที่สูง
การขนส่ง การขนส่งผู้ป่วยภายใน ทางเดินระหว่างตึก และหอผู้ป่วย ยาและเวชภัณฑ์ เครืองมือแพทย์
การสนับสนุน อาหารและน้ำดื่ม ยาและเวชภัณฑ์ เครืองมือแพทย์ ไฟฟ้าและน้ำประปา
การสื่อสาร คณบดี, ผอ.พบประชาคม (อังคาร 10 ตค.) กระจายเสียง แผ่นพับ, ใบปลิว Website, E-mail, Facebook, Twitter โทรศัพท์ 4898, 4899 วิทยุสื่อสาร ศูนย์ปฏิบัติการ ตึกอำนวยการ 2
การช่วยเหลือบุคลากร เงินช่วยเหลือพิเศษสำหรับผู้ประสบภัย หากไม่สามารถเข้ามาปฏิบัติงานได้ ให้ติดต่อหัวหน้าฝ่ายเป็นกรณีพิเศษ ที่จอดรถสำหรับผู้อยู่พื้นที่ประสบภัย เบื้องต้นเพิ่ม >100 ที่ จอดค้างคืนได้ อื่นๆ