ของขวัญปีใหม่ “การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลหนองยาว อ.เมือง จ.สระบุรี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ชุมชน หมู่บ้านสามพราน หมู่๘ ตำบลอ้อมใหญ่ อ. สามพราน จ.นครปฐม
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
มอบโลกใบใหม่ แห่งการเรียนรู้แก่ผู้สูงวัย
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
จากสำนักงานนโยบายและแผน
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ตัวชี้วัดตามรับรองปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ประกาศสัปดาห์คัดกรองผู้สูงอายุ
การประเมิน คุณภาพรอบ ๓ จุดคิด..... จุดยืน..... จุดเดิน โดย ศาสตราจารย์ ดร. ชาญณรงค์ พร รุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการ สมศ. วันจันทร์ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรม.
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
STROKE Service plan.
ปี ๒๕๕๖ อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
การประชุมคณะอนุกรรมการ
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 10 ข้อ
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของขวัญปีใหม่ “การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว” ของขวัญปีใหม่ “การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว” ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 1

อาชีพ ประชาชนประกอบอาชีพสวนยางพารา อาชีพ ประชาชนประกอบอาชีพสวนยางพารา เกษตรกรรม รายได้ดี สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็น สวนยางพารา วิถีชีวิตในชุมชนที่มีการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ปัญหาสุขภาพในกลุ่มโรค Metabolic สูง

การไปวัดทำบุญในวันพระ แปลงผักชุมชน การรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ วิถีชีวิตชุมชน แปลงผักชุมชน การทำสวนยางพารา การปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงสัตว์

บริบท ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง จำนวน ประชากร ๕,๖๘๔ คน ผู้สูงอายุทั้งหมด ๘๘๗ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๕.๖๑ ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม จำนวน ๗๙๘ คน ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน จำนวน ๗๑ คน ผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง จำนวน ๑๕ คน

มาตรการ/กระบวนการดำเนินงาน ๑. ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ อสม. ในการประเมิน/คัดกรอง ADL , ปัญหาและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และ Geratric Sydrom 5

๒. มอบสมุดพร้อมกับการประเมิน/คัดกรอง 6

๓.คืนข้อมูลกับชุมชน ภาคีเครือข่าย ๓.คืนข้อมูลกับชุมชน ภาคีเครือข่าย

๔. ใช้กระบวนการ DHS ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

๕. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง โดย Care Manager และ Care Giver

ผลการประเมิน/คัดกรอง ๑. การประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) จำนวน ผู้สูงอายุทั้งหมด ๘๘๗ คน ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม จำนวน ๘๐๑ คน(ร้อยละ ๙๐.๓๐) ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน จำนวน ๗๑ คน (ร้อยละ ๘.๐๑) ผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง จำนวน ๑๕ คน(ร้อยละ ๑.๖๙)

๒. การคัดกรองปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อย - ความดันโลหิตสูง จำนวน ๘๗๓ คน(ร้อยละ ๙๘.๔๒) ปกติ ๘๔๑ คน (ร้อยละ ๙๖.๓๓) เสี่ยง/ป่วย ๓๒ คน(ร้อยละ ๓.๖๗) - เบาหวาน จำนวน ๘๗๓ คน(ร้อยละ ๙๗.๙๗) ปกติ ๘๓๔ คน(ร้อยละ ๙๕.๙๗) เสี่ยง/ป่วย ๓๕ คน(ร้อยละ ๔.๐๓) - ฟัน ได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน ๘๕๓ คน(ร้อยละ ๙๖.๑๗) ปกติ ๑๓ คน(ร้อยละ ๑.๕๒) ผิดปกติ ๘๔๐ คน(ร้อยละ ๙๘.๔๘) ส่วนมากมีรอยดำ เป็นรูผุสึก และเป็นหลุม - ตา ได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน ๘๕๓ คน(ร้อยละ ๙๖.๑๗) ปกติ ๔๔ คน(ร้อยละ ๕.๑๖) ผิดปกติ ๘๐๙ คน(ร้อยละ ๙๔.๘๔) ส่วนมากอ่าน หนังสือพิมพ์หน้า๑ ในระยะ ๑ ฟุตไม่ได้

๓. การคัดกรอง Geratric Syndrom - สมองเสื่อม ได้การตรวจ จำนวน ๘๕๓ คน(ร้อยละ ๙๖.๑๗) ปกติ ๗๗๒ คน(ร้อยละ ๙๐.๕๐) ผิดปกติ ๘๑ คน(ร้อยละ ๙.๕๐) - เข่าเสื่อม ได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน ๘๕๓ คน(ร้อยละ ๙๖.๑๗) ปกติ ๖๔๓ คน(ร้อยละ ๗๕.๓๘) ผิดปกติ ๒๑๐ คน(ร้อยละ ๒๔.๖๒) - ความเครียด ได้รับการตรวจคัดกรองด้วย 2Q จำนวน ๘๕๓ คน(ร้อยละ ๙๖.๑๗) ปกติทุกคน

ผลการติดตามดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง จำนวน ๑๕ คน ผลการติดตามดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง จำนวน ๑๕ คน ๑. สาเหตุการติดเตียง - เส้นเลือดในสมองตีบ ๔ คน - โรคความความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมัน ๘ คน - โรคมะเร็งสมอง ๑ คน - หกล้ม ๑ คน - โรคจิตเวท ๑ คน ๒. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ไม่พบปัญหาทางเศรษฐกิจ ๓. ปัญหาด้านขาดผู้ดูแล ไม่พบปัญหาผู้ดูแล ๔. ปัญหาโรคประจำตัว/ปัญหาสุขภาพ เช่นแผลกดทับ การเกิดข้อติด ฯ ไม่พบปัญหา

- การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุที่ผ่านมาได้รับการสนับสนุน งบประมาณ คน จาก ทต.โคกชะงาย - ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรม อสม. เทศบาลตำบลโคกชะงาย 14

การดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ติดบ้าน)ที่ผ่านมา 15

เยี่ยมผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงร่วมกับ อปท. ชมรมผู้สูงอายุ เยี่ยมผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงร่วมกับ อปท. ชมรมผู้สูงอายุ

เยี่ยมผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงร่วมกับ อปท. ชมรมผู้สูงอายุ เยี่ยมผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงร่วมกับ อปท. ชมรมผู้สูงอายุ