ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ. 2554.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
สวัสดีครับ.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ. 2554 (ระยะเวลา 2 ปี) กำหนดเมื่อ 7-12-2009 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่าง ต่อเนื่อง มีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชน ชุมชนมีการเชื่อมโยง และพัฒนาศักยภาพทุกภาคี เครือข่ายในพื้นที่ ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนมีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสม ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) เทศบาลเมืองรังสิตร่วมดำเนินงาน และสนับสนุนทรัพยากร สถานบริการสุขภาพสนับสนุนวิชาการและการบริการ กองทุนหลักประกันฯสนับสนุนงบประมาณ สถาบันการศึกษา สนับสนุนด้านวิชาการ สื่อมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ ภาครัฐ และภาคเอกชน สนับสนุนงบประมาณและร่วม ดำเนินงาน ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สนับสนุนและร่วมดำเนินงาน ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่ายอย่างมี ประสิทธิภาพ มีระบบการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ดี มีการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารกองทุนฯอย่างมีธรรมาภิบาล มีกระบวนการวิจัย (PAR) แบบบูรณาการเพื่อสร้าง นวัตกรรมชุมชน ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมในการสร้าง วัฒนธรรมองค์กรที่ดี

ประชาชนมีความเข้มแข็งในการจัดการสุขภาพเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ. 2554 ระยะเวลา 2 ปี ประชาชนมีความเข้มแข็งในการจัดการสุขภาพเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ชุมชนมีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสม ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อการพํฒนาคุณภาพชีวิต มีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชน ประชาชน ชุมชนมีการเชื่องโยงและพัฒนาศักยภาพทุกภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สนับสนุนและ ร่วมดำเนินงาน ภาครัฐและเอกชน สนับสนุนงบประมาณร่วมดำเนินงาน สถานบริการสุขภาพสนับสนุนวิชาการและบริการ ภาคี กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ สื่อมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ สถาบันการศึกษา สนับสนุนด้านวิชาการ เทศบาลเมืองรังสิตร่วมดำเนินงาน และสนับสนุนทรัพย์กร มีกระบวนการวิจัย (PAR) แบบบูรณาการ เพื่อสร้างนวัตกรรมชุมชน มีการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังอย่างต่อเนื่อง มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ดี กระบวนการ มีการบริหารกองทุนอย่างมีธรรมภิบาล มีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร อยางต่อเนื่อง มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน พื้นฐาน มีการปรับเปลี่ยนทัศนะคติ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (8 ธันวาคม 2552) 2

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ. 2554 ระยะเวลา 2 ปี ประชาชนมีความเข้มแข็งในการจัดการสุขภาพเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ชุมชนมีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสม ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อการพํฒนาคุณภาพชีวิต มีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชน ประชาชน 1 ชุมชนมีการเชื่องโยงและพัฒนาศักยภาพทุกภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 4 3 ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สนับสนุนและ ร่วมดำเนินงาน ภาครัฐและเอกชน สนับสนุนงบประมาณร่วมดำเนินงาน สถานบริการสุขภาพสนับสนุนวิชาการและบริการ ภาคี กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ สื่อมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ สถาบันการศึกษา สนับสนุนด้านวิชาการ เทศบาลเมืองรังสิตร่วมดำเนินงาน และสนับสนุนทรัพย์กร มีกระบวนการวิจัย (PAR) แบบบูรณาการ เพื่อสร้างนวัตกรรมชุมชน มีการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังอย่างต่อเนื่อง มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ดี 5 6 กระบวนการ มีการบริหารกองทุนอย่างมีธรรมภิบาล 2 มีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร อยางต่อเนื่อง มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน พื้นฐาน มีการปรับเปลี่ยนทัศนะคติ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (8 ธันวาคม 2552) 3

การวางแผนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทม.รังสิต การจัดสรรงบประมาณ น้ำหนัก (ร้อยละ) งบประมาณ 35% 25% 23% 17% 4