ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ. 2554 (ระยะเวลา 2 ปี) กำหนดเมื่อ 7-12-2009 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่าง ต่อเนื่อง มีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชน ชุมชนมีการเชื่อมโยง และพัฒนาศักยภาพทุกภาคี เครือข่ายในพื้นที่ ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนมีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสม ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) เทศบาลเมืองรังสิตร่วมดำเนินงาน และสนับสนุนทรัพยากร สถานบริการสุขภาพสนับสนุนวิชาการและการบริการ กองทุนหลักประกันฯสนับสนุนงบประมาณ สถาบันการศึกษา สนับสนุนด้านวิชาการ สื่อมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ ภาครัฐ และภาคเอกชน สนับสนุนงบประมาณและร่วม ดำเนินงาน ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สนับสนุนและร่วมดำเนินงาน ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่ายอย่างมี ประสิทธิภาพ มีระบบการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ดี มีการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารกองทุนฯอย่างมีธรรมาภิบาล มีกระบวนการวิจัย (PAR) แบบบูรณาการเพื่อสร้าง นวัตกรรมชุมชน ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมในการสร้าง วัฒนธรรมองค์กรที่ดี
ประชาชนมีความเข้มแข็งในการจัดการสุขภาพเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ. 2554 ระยะเวลา 2 ปี ประชาชนมีความเข้มแข็งในการจัดการสุขภาพเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ชุมชนมีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสม ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อการพํฒนาคุณภาพชีวิต มีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชน ประชาชน ชุมชนมีการเชื่องโยงและพัฒนาศักยภาพทุกภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สนับสนุนและ ร่วมดำเนินงาน ภาครัฐและเอกชน สนับสนุนงบประมาณร่วมดำเนินงาน สถานบริการสุขภาพสนับสนุนวิชาการและบริการ ภาคี กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ สื่อมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ สถาบันการศึกษา สนับสนุนด้านวิชาการ เทศบาลเมืองรังสิตร่วมดำเนินงาน และสนับสนุนทรัพย์กร มีกระบวนการวิจัย (PAR) แบบบูรณาการ เพื่อสร้างนวัตกรรมชุมชน มีการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังอย่างต่อเนื่อง มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ดี กระบวนการ มีการบริหารกองทุนอย่างมีธรรมภิบาล มีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร อยางต่อเนื่อง มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน พื้นฐาน มีการปรับเปลี่ยนทัศนะคติ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (8 ธันวาคม 2552) 2
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ. 2554 ระยะเวลา 2 ปี ประชาชนมีความเข้มแข็งในการจัดการสุขภาพเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ชุมชนมีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสม ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อการพํฒนาคุณภาพชีวิต มีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชน ประชาชน 1 ชุมชนมีการเชื่องโยงและพัฒนาศักยภาพทุกภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 4 3 ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สนับสนุนและ ร่วมดำเนินงาน ภาครัฐและเอกชน สนับสนุนงบประมาณร่วมดำเนินงาน สถานบริการสุขภาพสนับสนุนวิชาการและบริการ ภาคี กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ สื่อมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ สถาบันการศึกษา สนับสนุนด้านวิชาการ เทศบาลเมืองรังสิตร่วมดำเนินงาน และสนับสนุนทรัพย์กร มีกระบวนการวิจัย (PAR) แบบบูรณาการ เพื่อสร้างนวัตกรรมชุมชน มีการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังอย่างต่อเนื่อง มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ดี 5 6 กระบวนการ มีการบริหารกองทุนอย่างมีธรรมภิบาล 2 มีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร อยางต่อเนื่อง มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน พื้นฐาน มีการปรับเปลี่ยนทัศนะคติ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (8 ธันวาคม 2552) 3
การวางแผนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทม.รังสิต การจัดสรรงบประมาณ น้ำหนัก (ร้อยละ) งบประมาณ 35% 25% 23% 17% 4