ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

“การกำหนดวัตถุประสงค์”
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ผลงานวิจัยทางการศึกษา ด้านอาชีวศึกษา The study of any cause of students’ dropout in vocation education of Charansanitwong school of Business subject to.
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาโดยใช้วิธีการเสริมแรงด้วยการให้คะแนนเพิ่มในรายวิชาการขายเบื้องต้น 2 ผู้วิจัย นายสุทธิวัฒน์ บุษบิล.
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555

ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
การฝึกทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง (อันเดอร์) โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 นางพัชลินทร์ แดงประเสริฐ.
โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร

ปัญหาการวิจัย งานพยาบาลโรงเรียนเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ ผลจากการดำเนินงานพบว่ามีนักเรียน/นักศึกษา ป่วยมากในแต่ละภาคเรียน ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ได้ว่าเยาวชนคือตัวนักเรียน/นักศึกษามีสุขภาพไม่ค่อยแข็งแรง จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้วิจัยต้องการทราบว่าสาเหตุที่นักเรียน/นักศึกษา ป่วยอันเนื่องมาจากสาเหตุที่นักเรียน/นักศึกษา ไม่สนใจในการดูแลสุขภาพของตนใช่หรือไม่ เพื่อจะได้หาแนวทางแก้ไข และปรับเปลี่ยนวิธีการดูแลสุขภาพตนเอง หลีกเลี่ยงในการปฏิบัติตนที่เสี่ยงอันจะส่งผลที่ไม่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ซึ่งหากสามารถปรับเปลี่ยนการกระทำดังกล่าวได้ ก็จะเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของประเทศ และส่งผลต่อการพัฒนาปะเทศในระยะยาวอีกด้วย ฉะนั้น สถาบันการศึกษาจึงควรตระหนักถึงความรับผิดชอบในระดับชุมชน จะต้องให้การดูแลเอาใจใส่สุขภาพนักเรียน/นักศึกษา พร้อมนำเสนอข้อมูลภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพของนักเรียน/นักศึกษา จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นข้อมูลขั้นพื้นฐานที่ทำให้ทราบแนวโน้มของสถานการณ์ สภาวะการเจ็บป่วย อันจะเป็นประโยชน์สำหรับการกำหนดแผนในการแก้ไขปัญหา การป้องกัน การส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน/นักศึกษาในสถาบันได้ทั้งปัจจุบัน และในอนาคต

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ปวช. และ นักศึกษา ระดับ ปวส. โรงเรียนเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพในด้านการดูแลสุขภาพตนเอง 2. เพื่อเปรียบเทียบความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ปวช. และนักศึกษาระดับ ปวส. โรงเรียนเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ ตามตัวแปร เพศ และระดับชั้น

(Independent Variable) กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ (Independent Variable)   ตัวแปรตาม (Dependent Variable) - เพศ - ระดับชั้น การศึกษาความสนใจ 1. ด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 2. ด้านการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเอง 3. ด้านการดูแลรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วย

สรุปผลการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ข้อมูลการศึกษาความสนใจในการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียน ผู้ตอบแบบสอบถามในการวิจัยครั้งนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 310 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 62.90 เป็นเพศชายร้อยละ 37.10 เมื่อจำแนกตามระดับการศึกษาพบว่า เป็นนักเรียน ระดับ ปวช. ร้อยละ 60.00 และ นักศึกษาระดับ ปวส. ร้อยละ 40.00

การศึกษาความสนใจในการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียน ตอนที่ 2 ความสนใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ของนักเรียนระดับ ปวช. และนักศึกษา ระดับ ปวส. การศึกษาความสนใจในการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียน ระดับการใช้ 1. ด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 1.67 มาก 2. ด้านการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเอง 1.58 ปานกลาง 3. ด้านการดูแลรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วย 1.72

ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการให้ความรู้ แนะนำ ปลูกฝังวิธีการดูแลรักษาสุขภาพ พร้อมกับอธิบายในด้านความรู้ โดยเน้นในเรื่อง 1.1 ไข้หวัดเกิดจากเชื้อโรคที่เรียกว่า “แบคทีเรีย” 1.2 การรับประทานอาหารรสหวาน เป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน 1.3 โรคอุจาระร่วงมีสาเหตุมาจากการไม่ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร จากข้อคำถามที่นักเรียน/นักศึกษา ตอบผิดมากที่สุด จึงสมควรให้ความรู้อันที่ถูกต้องพร้อมกับสร้างความตระหนัก ให้ความสำคัญ และให้ความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธี แก่นักเรียน/นักศึกษา ทุกระดับชั้น อย่างน้อยเทอมละ 1 ครั้ง 2. ควรมีการให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตนที่ผิด จะส่งผลเสียต่อสุขภาพในภายหน้า แก่นักเรียน/นักศึกษา ของตนเองอย่างไร พร้อมกับแนะนำการปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกวิธี และปลูกฝังการดูแลรักษาสุขภาพในด้านการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องแก่นักเรียน/นักศึกษา 3. ควรให้คำแนะนำที่ถูกวิธีในการดูแลรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วย เพื่อให้นักเรียน/นักศึกษาสามารถดูแลตนเอง เมื่อตนเองเจ็บป่วย และสามารถดูแลสมาชิกในครอบครัว และผู้อื่น ซึ่งอาจหมายถึงเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนร่วมทำงานในภายภาคหน้า

จบการนำเสนอ