วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
Advertisements

ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ความหมายและกระบวนการ
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การนิเทศติดตาม.
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สาขาโรคมะเร็ง.
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
การขออุทธรณ์การ จัดสรรเงิน บริการแพทย์แผนไทย สปสช. โอนเงินให้หน่วยบริการ ๒ ส่วน นวด ประคบ อบ งวด ๓ / ๒๕๕๕ ใช้ยาสมุนไพร งวด ๑ - ๓ / ๒๕๕๕ การจัดสรรเงิน คิดตามผลงาน.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผน ไทย ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ วัชรี แก้วสา งานการแพทย์แผนไทย สสจ. เลย.
สกลนครโมเดล.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สาขาจิตเวช.
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
28 กุมภาพันธ์ 2556 สปสช. เขต 8 อุดรธานี. 2. งบสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการ 0.35 บาท / ปชก. สิทธิ UC 1,342,755 บาท 2. งบสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กลุ่มงานบริหารทั่วไป
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
Service Plan 10 สาขา ๑) หัวใจและหลอดเลือด Ac. STEMI Ac.Cerebral Infaction ๒) ทารกแรกเกิด ๓) มะเร็ง ๔) อุบัติเหตุ ๕) ๕ สาขาหลัก( อายุรกรรม,ศัลยกรรม,ศัลยกรรมกระดูก,สูตินรีเวชกรรม,กุมารเวชกรรม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค. 2557 โดย วัชรี แก้วสา วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค. 2557 โดย วัชรี แก้วสา

แนวทางการดำเนินงานคลินิกแพทย์แผนไทยที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล ( OPD คู่ขนาน ) ๑) มีแพทย์แผนไทยซึ่งได้รับใบประกอบโรคศิลปะสาขา การแพทย์แผนไทย ประเภทเวชกรรมไทย หรือสาขา แพทย์แผนไทยประยุกต์ ๒) มีห้องตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล ๓) แพทย์แผนไทยทำหน้าที่ในการตรวจวินิจฉัย และสั่งการ รักษาที่ห้องตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล อย่างน้อย ๒ วัน /สัปดาห์ ๔) แพทย์แผนไทยตรวจรักษาโรคทั่วไปและโรคเรื้อรัง และ จัดบริการพื้นฐานด้านการแพทย์แผนไทย ได้แก่ การนวด/ ประคบ/อบสมุนไพร และการใช้ยาสมุนไพร ๕) มีรายการยาแผนไทยสำหรับให้บริการไม่น้อยกว่า ๓๐ รายการ จะตรวจประเมินฯไทยโดยทีมประเมินเขตเพื่อจัดสรรงบ สปสช. ในเดือนธันวาคม ๒๕๕๗

O

แนวทางการจัดสรรงบกองทุนแพทย์แผนไทย สปสช. เขต 8 อุดรธานี ปี 2558 แนวทางการจัดสรรงบกองทุนแพทย์แผนไทย สปสช. เขต 8 อุดรธานี ปี 2558

2.จัดสรรตามคุณภาพและผลงานบริการ : 50% (22,413,549.00 บาท) รูปแบบการบริหารจัดการงบประมาณ ปี 2558 งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี 2558 อัตรา 8.19 บ./ปชก.UC -จำนวน ปชก. UC : 40% -จำนวนหน่วยบริการ : 30% -ผลงาน ปี 2557 : 30% Global เขต : 44,827,099.00 บาท 1.สนับสนุนการจัดบริการในเครือข่ายหน่วยบริการประจำ : 50% (22,413,550.00 บาท) 2.จัดสรรตามคุณภาพและผลงานบริการ : 50% (22,413,549.00 บาท) 1.1จัดสรรแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการตามเงื่อนไขที่กำหนด 6,724,065 บาท 1.2 จัดสรรตามจำนวนหน่วยบริการที่มีแพทย์แผนไทยปฏิบัติงานประจำ 9,106,775 บาท 1.3 จัดสรรตามจำนวนคลินิกเวชกรรมไทยคู่ขนานกับแพทย์แผนปัจจุบัน ใน รพ. 4,482,710 บาท 1.4 สนับสนุนการพัฒนาให้มี รพ.แพทย์แผนไทยต้นแบบ ระดับจังหวัด (1 แห่ง/จว.)2,100,000 บาท จัดสรรตามผลงาน (นวด อบ ประคบ ฟื้นฟูแม่หลังคลอด ยาสมุนไพร) 15,689,484.00 บ. จัดสรรแบบบูรณาการกับ QOF (KPI ยาสมุนไพร 1 ตัว) 6,724,065.00 บ.

ส่วนที่ 1 : สนับสนุนการจัดบริการในเครือข่ายหน่วยบริการประจำ 1.1 จัดสรรแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยกำหนดเงื่อนไข 3 รายการ ดังนี้ 1.1.1 จัดสรรแบบ Fix rate ตามจำนวนหน่วยบริการ 1.1.2 จัดสรรตามจำนวนประชากร UC 1.1.3 จัดสรรตามจำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ขึ้นทะเบียน ม.5.7 , 5.8 ( ใช้ผลการประเมินขึ้นทะเบียนปี 2558 ) 9

ส่วนที่ 1 : สนับสนุนการจัดบริการในเครือข่ายหน่วยบริการประจำ ( ต่อ ) 1.2 จัดสรรตามจำนวนหน่วยบริการที่มีแพทย์แผนไทยปฏิบัติงานประจำ แบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ 1.2.1 จัดสรรตามจำนวนหน่วยบริการที่มีแพทย์แผนไทยปฏิบัติงานประจำอย่างน้อย 1 คน 1.2.2 จัดสรรให้ รพ.สต. ที่มีแพทย์แผนไทยปฏิบัติงานประจำ ตามโครงการของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ และยังไม่มีการบรรจุข้าราชการ แห่งละ 150,000 บาท ( จ.เลย = รพ.พวยเด้ง ) 1.3 จัดสรรให้กับ รพ. ที่ผ่านการประเมินคลินิกเวชกรรมไทยคู่ขนานกับ แพทย์แผนปัจจุบัน เป้าหมาย จ.เลย ๗ แห่ง ได้แก่ รพ.เลย รพร.ด่านซ้าย รพ.นาด้วง รพ.เอราวัณ รพ.นาด้วง รพ.ผาขาว รพ.เชียงคาน 1.4 สนับสนุนการพัฒนาให้มี รพ.แพทย์แผนไทยต้นแบบ ระดับจังหวัดๆละ 1 แห่งๆ ละ 300,000 บาท เป้าหมายจังหวัดเลย = รพร.ด่านซ้าย 10

ส่วนที่ 2 : จัดสรรบูรณาการกับ QOF : 50% ลำดับ เงื่อนไชการจ่าย 1 จัดสรรงบตามผลงานบริการ (นวด อบ ประคบ ฟื้นฟูแม่หลังคลอด ยาสมุนไพร) คิดเป็น point 2 จัดสรรแบบบูรณาการกับ QOF (KPI 1 ตัว) คือ ร้อยละการสั่งจ่ายสมุนไพรในหน่วยบริการที่มีแพทย์แผนไทยปฏิบัติงานประจำตามเกณฑ์ รพ.สส.พท. 1) ระดับ รพท. /รพศ. จำนวน 25 รายการ 2) ระดับ รพช. จำนวน 20 รายการ 3) ระดับ รพ.สต. จำนวน 10 รายการ 11

ฐานข้อมูลที่ใช้ในการจัดสรรงบประมาณ 1. ฐานข้อมูลจังหวัด 43 แฟ้ม : ข้อมูลการให้บริการ 2. Data center : ข้อมูลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ 3. การสำรวจ : ข้อมูลบุคลากรแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการ 4. การตรวจประเมิน : คลินิกเวชกรรมไทยตามเกณฑ์ 5. ข้อมูลโปรแกรมแพทย์แผนไทยของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ สธ. 12

จากยาสามัญประจำป่า กลับคืนมาสู่สังคม ” “ สมุนไพรไทย มีคุณค่า จากยาสามัญประจำป่า กลับคืนมาสู่สังคม ” สวัสดี