การดำเนินการตามภารกิจ การให้บริการจัดหางานในประเทศ โดย กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน 27 เมษายน 2555
กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน ดำเนินโครงการ / กิจกรรม จำนวน 14 โครงการ ดังนี้
๑. บริการจัดหางาน ณ สำนักงาน ๒. โครงการนัดพบแรงงาน - นัดพบแรงงานใหญ่ - นัดพบแรงงานย่อย ๓. โครงการมีงานทำนำชุมชนเข้มแข็ง ๔. โครงการบริการจัดหางานแก่ผู้ประกันตนกรณีว่างงาน ๕. โครงการส่งเสริมคนพิการทำงานในหน่วยงานภาครัฐ ๖. โครงการสร้างโอกาสการมีงานทำให้ผู้สูงอายุเพื่อ เพิ่มศักยภาพการบรรจุงาน ๗. โครงการให้บริการจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน ตลอด 24 ชั่วโมง
๘. โครงการยกระดับคุณภาพบริการจัดหางานสู่ความเป็นเลิศ ๙. โครงการอบรมแรงงานไทยเพื่อความมั่นคงในอาชีพ ๑๐. โครงการเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเป็นระบบ ๑๑. โครงการจัดหางานให้กับกลุ่มคนพิเศษ - กิจกรรมจัดหางานให้ผู้พ้นโทษ - กิจกรรมจัดหางานพิเศษให้นักเรียน-นักศึกษา - กิจกรรมจัดหางานให้คนพิการมีงานทำ ๑๒. โครงการนัดพบตลาดงานเชิงคุณภาพ *๑๓. โครงการพัฒนาระบบบริการจัดหางาน ในประเทศ *๑๔. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดหางานในประเทศ
การดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของกรมการจัดหางาน ปีงบประมาณ 2555 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุงาน)
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการจัดหาและ/หรือพัฒนาฝีมือ แรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงาน ในอุตสาหกรรม ที่สำคัญ เปรียบเทียบ การบรรจุงาน : ตำแหน่งงานว่างในแต่ละอุตสาหกรรม ที่สำคัญ 1.โรงแรมและภัตตาคาร 52 56 60 64 68 2.สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 91 92 93 94 95 3.โลจิสติกส์ 63 67 71 75 79 4.อาหารและอาหารสัตว์ 91 92 93 94 95 5.อัญมณี และเครื่องประดับ 89 90 91 92 93
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ร้อยละของจำนวนผู้ขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกรณีว่างงาน ที่กลับเข้าสู่ระบบแรงงาน เปรียบเทียบ การบรรจุงาน : ผู้ขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกรณีว่างงาน ร้อยละ 38 40 42 44 46
ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละของค่าเฉลี่ยในการจัดหาและ/หรือพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงานในแต่ละจังหวัด เปรียบเทียบ การบรรจุงาน : ตำแหน่งงานว่างที่บันทึกใหม่ในแต่ละ ปีงบประมาณ ร้อยละ 66 69 72 75 78
ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 ร้อยละของแรงงานที่ผ่านการฝึกอบรมและมีงานทำ ภายใน 3 เดือน เปรียบเทียบ การบรรจุงาน : ผู้ที่จบการฝึกอบรมจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (บรรจุงานภายใน 3 เดือน หรือการประกอบอาชีพอิสระภายใน 3 เดือน หลังจบฝึกอบรม) โดยรายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด www.ems-doe.com ร้อยละ 79 81 83 85 87
ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละของแรงงานที่ได้รับการบรรจุงานในประเทศ เปรียบเทียบ การบรรจุงาน : ผู้สมัครงานมาใช้บริการจัดหางาน ร้อยละ 43 45 47 49 51
โครงการบริการจัดหางานแก่ผู้ประกันตนกรณีว่างงาน การให้บริการผู้ประกันตนกรณีว่างงาน 1. การขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกรณีว่างงาน ให้ตรวจสอบเลขบัตรประจำตัว ประชาชนให้ถูกต้องก่อนบันทึกข้อมูลลงในระบบสารสนเทศทุกครั้ง 2. การขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกรณีว่างงานที่เป็นแรงงานต่างด้าว ให้ดำเนินการ ขึ้นทะเบียนและรับรายงานตัวทางเอกสารเท่านั้น โดยไม่มีการให้บริการจัดหางาน 3. การรับรายงานตัวผู้ประกันตนกรณีว่างงาน จะรับรายงานตัวก่อนวันนัด ไม่เกิน ๗ วัน และหลังวันนัดไม่เกิน ๗ วัน กรณีผู้ประกันตน ฯ มารายงานตัว หลังกำหนดเกิน ๗ วัน จะต้องมีเอกสารการวินิจฉัยสิทธิจากสำนักงาน ประกันสังคมก่อน เจ้าหน้าที่จัดหางานจึงจะบันทึกข้อมูลการรับรายงานตัว ตามเหตุผลที่สำนักงานประกันสังคมวินิจฉัยและเก็บเอกสารไว้เป็นหลักฐาน
โครงการบริการจัดหางานแก่ผู้ประกันตนกรณีว่างงาน (ต่อ) 4. การบรรจุงานผู้ประกันตนกรณีว่างงาน เจ้าหน้าที่สามารถติดตามผลการ บรรจุงานของผู้ประกันตนฯ ได้ 3 วิธี ดังนี้ 1) ติดตามผลจากผู้ประกันตนฯ/นายจ้างสถานประกอบการที่เจ้าหน้าที่จัดหางาน ได้ Matching และส่งตัวไปพบนายจ้าง 2) รับแจ้งการได้งานทำจากผู้ประกันตนฯ หรือจากนายจ้าง/สถานประกอบการ 3) ข้อมูลผู้ประกันตนกลับเข้าสู่ระบบจากสำนักงานประกันสังคม 5. การรายงานผลการให้บริการผู้ประกันตนกรณีว่างงาน กองพัฒนาระบบบริการ จัดหางานเรียกรายงานจากรายงาน 61w0
ขอบคุณคะ