แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ความหมาย ลักษณะ และประเภทของซอฟต์แวร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ผู้สอน ครูวาสนา พลทองมาก โรงเรียนบ้านบึงสามัคคีกำแพงเขต
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Software.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การประยุกต์ใช้ไอซีที ในบริบทธุรกิจท่องเที่ยว
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ซอฟต์แวร์.
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การสร้างงานกราฟิก.
คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอะไรบ้าง.
Creating Effective Web Pages
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
ชี้แจงวัตถุประสงค์ เนื้อหารายวิชา และหลักเกณฑ์ในการวัดผล
บทที่ 4 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การทำงานของคอมพิวเตอร์นอกจากใช้ระบบปฏิบัติการแล้ว ผู้ใช้ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการทำงานด้านต่าง ๆ ซึ่งต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่มีผู้ผลิตขึ้นให้เลือกใช้งาน.
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
ซอฟแวร์ประยุกต์.
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ซอฟต์แวร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
โครงสร้าง ภาษาซี.
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
Software ซอฟต์แวร์.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
SOFTWARE.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
หน่วยที่ 1 ซอฟต์แวร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ความหมาย ลักษณะ และประเภทของซอฟต์แวร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ความหมาย ลักษณะ และประเภทของซอฟต์แวร์ วิชา คอมพิวเตอร์2 รหัสวิชา ง 20102 หน่วยที่ 5 ซอฟต์แวร์ ผู้สอน อัจฉรี จิตรักษ์

ลักษณะการทำงานของซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1) ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)

ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1) ระบบปฏิบัติการ (operating system) 1.1 ระบบปฏิบัติการเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ DOS 1.2 ระบบปฏิบัติการแบบเปิด UNIX Microsoft Windows Linux

2) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ 2.1 คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูง เช่น ภาษาปาสคาล, โคบอลและภาษาฟอร์แทรนให้เป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมต้นฉบับ (Source program) คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมเรียกใช้งาน (executable program) ผลลัพธ์ (output) ข้อมูลนำเข้า (Input)

2.2 อินเตอร์พรีเตอร์ (interpreter) เช่น ภาษาเบสิก (BASIC) โปรแกรมต้นฉบับ (Source program) อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ผลลัพธ์ (output) ข้อมูลนำเข้า (Input) 2.3 แอสแซมเบลอ (assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลี (Assembly) ให้เป็นภาษาเครื่อง

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ พัฒนาขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น โปรแกรม Microsoft Word, Word Perfect และ Lotus Word Pro การใช้งาน ใช้สำหรับจัดทำเอกสาร เช่น รายงาน จดหมาย หนังสือ

ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Word

โปรแกรมด้านการคำนวณ เช่น โปรแกรม Microsoft Excel, Lotus1-2-3 และ Quattro Pro เป็นต้น การใช้งาน ใช้สำหรับงานคำนวณตัวเลข ทำกราฟสถิติ เช่น ทำงบกำไร-ขาดทุน รายงานการขาย รายงานคะแนน ฯลฯ

ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Excel

โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล เช่น โปรแกรม Microsoft PowerPoint การใช้งาน ใช้สำหรับการนำเสนอข้อมูลในการประชุม สัมมนา การบรรยายการเรียนการสอน

ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft PowerPoint

โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access, และ FoxPro เป็นต้น การใช้งาน ใช้สำหรับงานเก็บข้อมูลจำนวนมาก เช่น ข้อมูลลูกค้า สินค้าคงคลัง ข้อมูลบุคลากร

ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Access

โปรแกรมด้านงานพิมพ์ เช่น โปรแกรม Adobe PageMaker และ Microsoft Publisher การใช้งาน ใช้สำหรับจัดหน้าสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ หนังสือ นามบัตร ใบประชาสัมพันธ์

ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Publisher

โปรแกรมกราฟิก จำแนกได้ 2 ประเภท ประเภทที่ 1 เป็นโปรแกรมสำหรับตกแต่งภาพ เช่น โปรแกรม Adobe PhotoShop, Microsoft Paint และ CorelDraw เป็นต้น การใช้งาน ใช้สำหรับตกแต่งภาพให้สวยงาม มีเครื่อมือที่มีลักษณะเหมือนดินสอ แปรง พู่กัน และอุปกรณ์ที่เลียนแบบของจริง

ตัวอย่างโปรแกรม Adobe Photoshop

ประเภทที่ 2 เป็นโปรแกรมสำหรับการออกแบบ เช่น โปรแกรม AutoCAD และ Microsoft Visio การใช้งาน ใช้สำหรับช่วยออกแบบงานด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม เช่น ช่วยออกแบบบ้าน รถยนต์ ระบบไฟฟ้า หรือแผงวงจร

ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Visio

โปรแกรมด้านมัลติมีเดีย เช่น Macromedia Authorware, Macromedia Director และ ToolBook การใช้งาน เป็นโปรแกรมที่ผสมผสานข้อความ กราฟิก เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวเข้าด้วยกัน ใช้เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอน และการนำเสนอผลงาน

ตัวอย่างโปรแกรม Macromedia Authorware

โปรแกรมด้านติดต่อสื่อสาร ftp (file transfer protocol), ICQ, MIRC, MS Chat มีหลายประเภทดังนี้ newgroup, webboard การใช้งาน ใช้ในการแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็นบนกระดานข่าว

ตัวอย่าง Web board

โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เช่น Internet Explorer และ Netscape การใช้งาน ใช้แสดงข้อมูลบนเว็บเพจหรือใช้ติดต่อสื่อสารผ่านอีเมล

ตัวอย่างโปรแกรม Internet Explorer

โปรแกรมที่ช่วยโอนย้ายโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูล เช่น File Transfer Protocol (FTP) การใช้งาน ใช้โอนย้ายโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้งานที่เครื่องของตนเอง

ตัวอย่างโปรแกรม FTP

โปรแกรมที่ใช้สนทนาพูดคุยโต้ตอบกัน เช่น ICQ, MIRC, Microsoft Chat การใช้งาน ใช้สนทนากันโดยผ่านแป้นพิมพ์หรือสื่อประสมอื่น ๆ สามารถโต้ตอบกันแบบคำต่อคำได้ทันที

ตัวอย่างโปรแกรม ICQ

ตัวอย่างโปรแกรม MSN

โปรแกรมอรรถประโยชน์ เช่น โปรแกรมตรวจสอบไวรัส (virus scan), Win Zip การใช้งาน ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดูแลรักษาความปลอดภัย เช่น สำรองข้อมูล ตรวจสอบไวรัส หรือบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง

ตัวอย่างโปรแกรม WinZip

ตัวอย่างโปรแกรม Norton AntiVirus

โปรแกรมด้านสาระและบันเทิง เช่น โปรแกรมต่อสู้จำลอง (fight simulator), โปรแกรมสร้างเมือง หรือโปรแกรมเสริมสร้างทักษะของเด็กวัยต่าง ๆ การใช้งาน ใช้เป็นแหล่งความรู้ที่น่าสนใจ ปัจจุบันบรรจุอยู่ในแผ่นซีดีรอมเพราะใช้กันอย่างแพร่หลาย

ตัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องรามเกียรติ์

ตัวอย่างโปรแกรมแปลไทย