ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
Advertisements

ของ ด.ช. กฤษฎา หลาบเจริญ ม.2/3 เลขที่15 ปีการศึกษา2548
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ สร้างสรรค์งานสวย ด้วยเอกลักษณ์ไทย.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
สถาบันการศึกษา.
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
คุญลักษณะของบุคคลในกลุ่มงาน จัดทำโดย อาจารย์พิมพรรณ เพิ่มพูลศักดิ์
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
มุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพ ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
ความหมายของชุมชน (Community)
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
สถาบันนันทนาการ.
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
ศิลปะการละคร กับ กระบวนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
อบรมนันทนาการอบรมนันทนาการ 1-3 มิ. ย.53. นันทนาการ กิจกรรมที่กระทำยามว่างจากภารกิจงานประจำ ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมกระทำด้วยความสมัครใจ และมีความพอใจโดยกิจกรรมนั้นต้องไม่ขัดต่อ.
การเลือกซื้อสินค้า.
การใช้อำนาจและอิทธิพล
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
บทที่๑ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วัฒนธรรม. ๑ วัตุประสงค์การเรียนประจำบท บอกความหมายของวัฒนธรรมได้ บอกความสำคัญของของวัฒนธรรมได้ บอกองค์ประกอบของวัฒนธรรมได้
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความเป็นครู.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
ช่างไทยในงานศิลปกรรม ช่างประณีตศิลป คือ ผู้ที่ใช้ฝีมือ ทำการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ สำหรับการตกแต่ง เพิ่มพูนความสวยงาม ให้มีขึ้นแก่เครื่องอุปโภคบ้าง.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก วัฒนธรรม ความหมาย ลักษณะ ประเภท ความสำคัญ โดย…. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก

ความหมาย วัฒน (ไทย) มาจาก วฑฺฒน (บาลี) / วรฺธน (สันสกฤต) ธรรม (ไทย) มาจาก ธมฺม (บาลี) / ธรฺม (สันสกฤต) วฑฺฒนธมฺม (บาลี) / วรฺธนธรฺม (สันสกฤต) แปลว่า ธรรมเป็นเหตุให้เจริญ / ธรรมคือความเจริญงอกงามที่มนุษย์ทำให้เกิดขึ้น

คำว่า วัฒนธรรม เป็นชื่อรวมสำหรับแบบอย่างของพฤติกรรมทั้งหลายที่ได้มาและถ่ายทอดกันไปทางสังคมโดยอาศัยสัญลักษณ์ เช่น การทำเครื่องมือ ศิลปะ วิทยาศาสตร์ กฎหมาย การปกครอง ศีลธรรมและศาสนา รวมทั้งอุปกรณ์ที่เป็นวัตถุหรือสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งแสดงรูปแบบแห่งสัมฤทธิ์ผลทางวัฒนธรรม (ราชบัณฑิตยสถาน)

วัฒนธรรม หมายถึง วิธีการดำรงชีวิตของมนุษย์ที่แสดงถึงความเจริญงอกงามในการอยู่ร่วมกัน เป็นการสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกในลักษณะของวัตถุและไม่ใช่วัตถุ แล้วถ่ายทอดสืบต่อกันมา (พระราชบัญญัติวัฒนธรรม 2485)

ลักษณะของวัฒนธรรม 1. เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ 1. เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้   2. เป็นมรดกของสังคม / มีการถ่ายทอด 3. เป็นวิถีชีวิต / เป็นแบบแผนการดำเนินชีวิต 4. มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ

ประเภทของวัฒนธรรม  1. วัฒนธรรมทางวัตถุ        2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ / วัฒนธรรมทางจิตใจ

ประเภทของวัฒนธรรม 1. วัตถุธรรม   2. คติธรรม 3. สหธรรม 4. เนติธรรม

การจัดประเภทตามเนื้อหา 1. วัตถุธรรม เป็นวัตถุธรรมทางวัตถุที่สมาชิกร่วมกันประดิษฐ์และกำหนดความหมาย หรือวิธีการนำไปใช้ เช่น บ้านเรือน เครื่องแต่งกาย ถนนหนทาง และสิ่งประกอบความเป็นอยู่ทุกชนิด  รวมถึงเครื่องอุปโภคบริโภค 2. คติธรรม เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดำเนินชีวิต คุณธรรมทางจิตใจ อันเป็นคติหรือหลักการดำเนินชีวิต ส่วนใหญ่ได้มาจากศาสนาเช่น ความเมตตากรุณา ความกตัญญูกตเวที เป็นต้น

3. เนติธรรม เป็นวัฒนธรรมทางกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับกฎเกณฑ์หรือขนบธรรมเนียมประเพณีที่มีความสำคัญเสมอด้วยกฎหมาย กล่าวคือ บางอย่างแม้ไม่มีกฎหมายห้าม แต่ถ้าใครปฏิบัติก็เป็นที่รังเกียจของสังคม เพราะถือกันว่าไม่ดี ไม่เหมาะสมหรือที่เราเรียกว่า จารีต นั่นเอง

4. สหธรรม เป็นแนวทางของการดำเนินชีวิต มารยาทที่พึงปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมและประเพณีต่างๆ เช่น มารยาทในการเข้าหาผู้ใหญ่ มารยาทในโต๊ะอาหาร มารยาท  ในการเข้าสังคม เป็นต้น

(สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (พ.ศ. 2522) ประเภทของวัฒนธรรม (สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (พ.ศ. 2522)  1. วัฒนธรรมด้านศิลปะ ได้แก่ ภาษา ดนตรี วรรณคดี ฟ้อนรำละคร วิจิตรศิลป์ ประติมากรรม   2. วัฒนธรรมด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ขนบธรรมเนียมประเพณี คุณธรรมศีลธรรม ศาสนา ปรัชญา โบราณคดี มารยาทในในสังคม การปกครอง กฎหมาย 

3. วัฒนธรรมด้านการช่างฝีมือ ได้แก่ การเย็บปักถักร้อย การแกะสลัก ทอผ้า จักสาน เครื่องเขียน เครื่องเงิน เครื่องทองการจัดดอกไม้ ตุ๊กตา เครื่องปั้นดินเผา 4. วัฒนธรรมกีฬาและนันทนาการ ได้แก่ มวยไทย ฟันดาบ กระบี่กระบอง  5. วัฒนธรรมคหกรรมศิลป์ เช่น ความรู้เรื่องอาหาร เสื้อผ้า ยา การดูแลเด็ก มารยาท การรับแขก และการรู้จักประกอบอาชีพ

1. เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ความสำคัญของวัฒนธรรม  1. เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต     2. ทำหน้าที่หล่อหลอมบุคลิกภาพให้กับสมาชิกในสังคม     3. ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

1. สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ 2. ระบบการเกษตรกรรม 3. ค่านิยม ที่มาของวัฒนธรรมไทย  1. สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์     2. ระบบการเกษตรกรรม     3. ค่านิยม 4. การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม 5. ศาสนาพราหมณ์ 6. พุทธศาสนา  7. วัฒนธรรมตะวันตก 

วัฒนธรรมทางวัตถุของชาวอีสาน เครื่องแต่งกายและการแต่งกาย การงานและการประกอบอาชีพ ที่อยู่อาศัย ศิลปวัตถุและศาสนสถาน จิตรกรรม อาหารการกิน

วัฒนธรรมทางคติธรรมของชาวอีสาน คติเกี่ยวกับความเชื่อ การถือเรื่องทิศทาง การถือเรื่องวัน – เดือน - ปี การถือโสก คติคำสอน

วัฒนธรรมทางเนติธรรมของชาวอีสาน ฮีตสิบสอง / จารีตประเพณี คองสิบสี่

วัฒนธรรมทางสังคม /สหธรรมของชาวอีสาน ความเกี่ยวพันธ์กันในฐานะเครือญาติ ประเพณีที่เอื้ออำนวยต่อมนุษยสัมพันธ์ นันทนาการ การกีฬา / การละเล่น ดนตรีอีสาน

อย่าปล่อยวันผ่านไปโดยไม่อ่าน อย่าปล่อยวารผ่านไปโดยไม่เขียน ฝากให้คิด อย่าปล่อยวันผ่านไปโดยไม่อ่าน อย่าปล่อยวารผ่านไปโดยไม่เขียน อย่าปล่อยชีพผ่านไปโดยไม่เรียน อย่าหมุนเวียนเรียนไปโดยไม่คิด