กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การดำเนินการจัดการระบบการเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และ สัตว์ป่าให้ปลอดโรค อย่างไร้พรมแดน บุษบง กาญจนสาขา หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผนผังหน่วยงานภายในกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อธิบดี สำนักบริหาร งานกลาง CITES กองนิติการ สำนักป้องกัน ปราบปรามและควบคุมไฟป่า สำนักแผนงานและสารสนเทศ สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ ตามคำสั่งคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ ที่ 24/2556 เรื่องการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการระบบการเลี้ยง และและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2556 โดยมีการแต่งตั้งอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นอนุกรรมการและเลขานุการร่วม และมีผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการร่วม แนวทางการดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 ซึ่งจะครอบคลุมถึง การระบบการเลี้ยงสัตว์และตรวจโรคให้มีมาตรฐาน รวมถึงเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ แบ่งเป็น 8 กลยุทธ์ด้วยกัน ดังนี้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช สำนักสนองงานพระราชดำริ สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า สำนักอุทยานแห่งชาติ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16
การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ป่า สัตว์ป่าในธรรมชาติ สัตว์ป่าในกรงเลี้ยง สัตว์ป่าของกลาง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์ ส่งเสริมระบบการฆ่าสัตว์ให้มีมาตรฐาน ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพันธุ์ และการตลาดของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ปีกสวยงาม หลังได้รับผล กระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ จัดทำระบบการตรวจสอบย้อนกลับใน อุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยง สัตว์และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในสัตว์ 8. ศึกษาความมั่นคง และความหลากหลาย ทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า ตามคำสั่งคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ ที่ 24/2556 เรื่องการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการระบบการเลี้ยง และและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2556 โดยมีการแต่งตั้งอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นอนุกรรมการและเลขานุการร่วม และมีผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการร่วม แนวทางการดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 ซึ่งจะครอบคลุมถึง การระบบการเลี้ยงสัตว์และตรวจโรคให้มีมาตรฐาน รวมถึงเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ แบ่งเป็น 8 กลยุทธ์ด้วยกัน ดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดระบบการเลี้ยงสัตว์ป่า การตรวจรักษาโรค และเฝ้า ระวังโรคระบาดในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า 2. ตั้งคณะทำงานจัดทำมาตรฐานและหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาอนุญาตให้จัดตั้งและดำเนินกิจการสวนสัตว์ สาธารณะ 3. จัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม การดำเนินงานที่ผ่านมาของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ได้แก่ การจัดการระบบการเลี้ยงสัตว์ การตรวจรักษาโรค และเฝ้าระวังโรคระบาดในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า การตรวจสุขภาพสัตว์ป่าในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ปา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. การแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำร่างมาตรฐานและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุญาตให้จัดตั้งและดำเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะ คำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 1809/2555 ลงวันที่ 20 กันยายน 2555 ร่วมกับองค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์และมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่นมหาวิทยาลัยมหิดล 3. จัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ ให้ปลอดโรค เช่น การเพาะเลี้ยงกวางป่า
กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม แผนการดำเนินงานในอนาคต 1. จัดทำมาตรฐานกรงเลี้ยงสัตว์ และมาตรฐานสวนสัตว์ สาธารณะ 2. จำกัดพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ร่วมกันของคน สัตว์ และสัตว์ ป่า 3. รณรงค์ให้งดการให้อาหารแก่สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ใกล้เขตชุมชน 4. จัดทำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าปลอดโรค และอบรมสัตว แพทย์/เจ้าหน้าทีประจำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ในการดูแลสัตว์ ป่าให้ปลอดโรคตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม แผนการดำเนินงานในอนาคต 1. จัดทำมาตรฐานกรงเลี้ยงสัตว์ และมาตรฐานสวนสัตว์สาธารณะ 2. จำกัดพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ร่วมกันของคน สัตว์ และสัตว์ป่า 3. รณรงค์ให้งดการให้อาหารแก่สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ใกล้เขตชุมชน 4. ศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการจัดตั้งสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า 5. จัดทำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าปลอดโรค และอบรมสัตวแพทย์/เจ้าหน้าทีประจำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ในการดูแลสัตว์ป่าให้ปลอดโรคตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ
กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ การดำเนินการที่ผ่านมา 1. ตรวจค้นโรคไข้หวัดนกในนกอพยพเพื่อเฝ้าระวังการนำโรคเข้าสู่ประเทศในช่วงฤดูการอพยพของนก 2. ร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ควบคุมการนำเข้าสัตว์ป่าบริเวณด่านศุลกากร เพื่อตรวจใบรับรองสุขภาพ รวมทั้งกักกันโรคอย่างเข้มงวด โดยเฉพาะในช่วงมีการระบาดของโรคสัตว์สู่คนที่รุนแรง 3. ตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า 37 แห่ง เพื่อตรวจสอบการลักลอบนำเข้า/นำผ่านสัตว์ป่าตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 และตามอนุสัญญา CITES ปัญหาและอุปสรรค สัตว์ต่างถิ่นบางชนิด ไม่อยู่ภายใต้ พ.ร.บ. และความรับผิดชอบของหน่วยงานใด เช่น อัลปาก้า และชูก้าไกลเดอร์ กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ การดำเนินการ 1. ตรวจค้นโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติเพื่อเฝ้าระวังการนำโรคเข้าสู่ประเทศในช่วงฤดูการอพยพของนก 2. ร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ตรวจการนำเข้าสัตว์ป่าบริเวณด่านศุลกากร เพื่อตรวจใบรับรองสุขภาพ รวมทั้งกักกันโรคอย่างเข้มงวด โดยเฉพาะในช่วงมีการระบาดของโรคสัตว์สู่คนที่รุนแรง 3. จัดตั้งด่านตรวจสัตว์ป่าเพื่อตรวจสอบการลักลอบนำเข้า/นำผ่าน สัตว์ป่าตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 และตามอนุสัญญา CITES ปัญหาและอุปสรรค - สัตว์ต่างถิ่นบางชนิด ไม่อยู่ภายใต้พ.ร.บ และความรับผิดชอบของหน่วยงานใด เช่น อัลปาก้า และชูก้าไกลเดอร์
กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ประจำด่านตรวจสัตว์ป่าตามอนุสัญญา CITES รวมทั้งกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ประจำด่านตรวจสัตว์ป่า ตามอนุสัญญา CITES รวมทั้งกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์ การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. ส่งสัตวแพทย์เข้าร่วมโครงการอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม (FETP-V/W) 2. พัฒนาองค์ความรู้ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้แก่สัตวแพทย์ เจ้าหน้าที่ประจำด่านตรวจสัตว์ป่า และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ที่ ปฏิบัติงานในการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ป่า 3. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าที่เพื่อป้องกันและควบคุม โรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ธรรมชาติ 4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ป่าแก่ประชาชน กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์ การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. ส่งสัตวแพทย์เข้าร่วมโครงการอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม (FETP-V/W) 2. พัฒนาองค์ความรู้ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้แก่สัตวแพทย์และเจ้าหน้าที่ ป่าไม้ที่ปฏิบัติงานในการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ป่า 3. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าที่เพื่อป้องกันและควบคุม โรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ธรรมชาติ 4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ป่า แก่ประชาชน
โครงการพัฒนาบุคลากร เจ้าหน้าที่ด่านตรวจสัตว์ป่าของกองคุ้มครองพันธุ์พืชป่าและสัตว์ป่าตามอนุสัญญา ณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จ.เลย วันที่ 15-16 ธันวาคม 2557 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาบุคลากร การอบรมเจ้าหน้าที่ด่านตรวจสัตว์ป่าของกองคุ้มครองพันธุ์พืชป่าและสัตว์ป่าตามอนุสัญญา ตามแนวชายแดนพม่า ลาว และเขมร เพื่อให้ความรู้ด้านโรคในสัตว์ป่า และโรคจากสัตว์สู่คน การจำแนกชนิดพันธุ์นก ดำเนินการอบรมโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเรื่องการจำแนกชนิดนก หัวหน้าสถานีวิจัยสัตว์ป่าภูหลวง สัตว์แพทย์ และเชิญวิทยากรจากกองสารวัตและกักกัน กรมปศุสัตว์มาเป็นวิทยากรบรรยายในเรื่องแนวทางการเฝ้าระวังโรคตามแนวชายแดน
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาบุคลากร โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาบุคลากร เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานกับสัตว์ป่า โดยการให้ความรู้ด้านโรค และโรคจากสัตว์สู่คนการจำแนกชนิดพันธุ์นก ดำเนินการอบรมโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเรื่องการจำแนกชนิดนก และสัตว์แพทย์ รุ่นที่ 1 ที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติบึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ ในวันที่ ในวันที่ 13 – 14 พฤศจิกายน 2557 และรุ่นที่ 2 ที่ อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ จ.อุบลราชธานี ในวันที่ 27 – 28 พฤศจิกายน ๒๕๕7
กลยุทธ์ที่ 5 ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพันธุ์ และการตลาดของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ปีกสวยงาม หลังได้รับผล กระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ การดำเนินงานที่ผ่านมา - เฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า สวนสัตว์เอกชน สวนสัตว์สาธารณะ โดยหน่วยงานส่วนภูมิภาค 16 แห่ง กลยุทธ์ที่ 5 ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพันธุ์ และการตลาดของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ปีกสวยงาม หลังได้รับผล กระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ การดำเนินงาน เฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า สวนสัตว์เอกชน สวนสาธารณะ โดยหน่วยงานส่วนภูมิภาค 16 แห่ง สำหรับยุทธศาสตร์นี้ กรมอุทยานฯ ยังไม่มีแผนการดำเนินในอนาคต
กลยุทธ์ที่ 6 จัดทำระบบการตรวจสอบย้อนกลับในอุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ การดำเนินงานที่ผ่านมา - จัดทำและพัฒนาระบบการทำเครื่องหมายระบุตัวสัตว์ ในกรณีสัตว์ป่าที่อนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ และในสถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่า - ฐานข้อมูลสวนสัตว์เอกชน และสวนสัตว์สาธารณะ (ที่ตั้ง ชนิดพันธุ์ จำนวนสัตว์ ฯลฯ) แผนการดำเนินงานในอนาคต พัฒนาระบบทะเบียนสัตว์ป่า และฐานข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ป่า ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า และสวนสัตว์เอกชน กลยุทธ์ที่ 6 จัดทำระบบการตรวจสอบย้อนกลับในอุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ การดำเนินงานที่ผ่านมา - จัดทำและพัฒนาระบบการทำเครื่องหมายระบุตัวสัตว์ ในกรณีสัตว์ป่าที่อนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ และในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า - ฐานข้อมูลสวนสัตว์เอกชน และสวนสัตว์สาธารณะ (ที่ตั้ง ชนิดพันธ์ จำนวนสัตว์ ฯลฯ) แผนการดำเนินงานในอนาคต พัฒนาระบบทะเบียนสัตว์ป่า และฐานข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ป่า ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า และสวนสัตว์เอกชน
กลยุทธ์ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดทำคู่มือการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น การเพาะเลี้ยงกวางป่า กระจง เก้ง และไก่ฟ้าสายพันธุ์ต่างๆ 2. สำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดนก ในตลาดค้าสัตว์ร่วมกับกรมปศุสัตว์ กทม. และกรมควบคุมโรค 3. การสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในบริเวณแหล่งรวมสัตว์ต่างๆ เช่น บริเวณแหล่งพักนอนของค้างคาวที่อยู่ใกล้ชุมชน และบริเวณแหล่งอาศัยของลิงที่อยู่ใกล้ชุมชน 4. สำรวจแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าที่อยู่รวมกลุ่มกันเป็นจำนวนมาก เช่น ค้างคาว ลิง นกน้ำ เพื่อสนับสนุนข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่สู่ปศุสัตว์ กลยุทธ์ ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์ และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. สำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดนก ในตลาดค้าสัตว์ร่วมกับ กรมปศุสัตว์ กทม. และกรมควบคุมโรค 2. การสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในบริเวณแหล่งรวมสัตว์ต่างๆ เช่น บริเวณแหล่งพักนอนของค้างคาวที่อยู่ใกล้ชุมชน และบริเวณแหล่งอาศัยของลิงที่อยู่ใกล้ชุมชน 3. สำรวจแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าที่อยู่รวมกลุ่มกันเป็นจำนวนมาก เช่น ค้างคาว ลิง นกน้ำ เพื่อสนับสนุนข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่สู่ปศุสัตว์
กลยุทธ์ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ แผนการดำเนินงานในอนาคต - ศึกษาความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเชื้อโรคระหว่างสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยงบริเวณรอยต่อระหว่างพื้นที่ป่าอนุรักษ์และชุมชน - จัดทำคู่มือการเคลื่อนย้ายสัตว์ป่า การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ ให้ปลอดโรค กลยุทธ์ ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์ และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ แผนการดำเนินงานในอนาคต - ศึกษาความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเชื้อโรคระหว่างสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยงบริเวณรอยต่อ ระหว่างพื้นที่ป่าอนุรักษ์และชุมชน - จัดทำคู่มือการเคลื่อนย้ายสัตว์ป่า การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ ให้ปลอดโรค
กลยุทธ์ที่ 8 ศึกษาความมั่นคง และความหลากหลายทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดตั้งคลินิกสัตว์ป่าในสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ 5 แห่ง 2. ตรวจสอบและสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในชนิดพันธุ์สัตว์ ต่างประเทศที่ลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศ 3. ฐานข้อมูลพันธุกรรมสัตว์ป่าในกรงเลี้ยง 4. การศึกษาชนิดพันธุ์สัตว์ต่างถิ่นใน ประเทศไทย แผนการดำเนินงานในอนาคต - จัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์โรค เบื้องต้นในสัตว์ป่า กลยุทธ์ที่ 8 ศึกษาความมั่นคง และความหลากหลายทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดตั้งคลินิกสัตว์ป่าในสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ 5 แห่ง เพื่อจัดการสุขภาพสัตว์ป่าในธรรมชาติ และสัตว์ป่าในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า 2. ตรวจสอบและสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในชนิดพันธุ์สัตว์ต่างประเทศที่ลักลอบนำเข้ามาในต่างประเทศ 3. ฐานข้อมูลพันธุกรรมสัตว์ป่าในกรงเลี้ยง 4. การศึกษาชนิดพันธุ์สัตว์ต่างถิ่นในประเทศไทย แผนการดำเนินงานในอนาคต - จัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์โรคเบื้องต้นในสัตว์ป่า
ขอบคุณค่ะ