อิทธิพลของสารสนเทศที่ส่งผลต่อจริยธรรมสาหรับผู้เรียนในสังคมปัจจุบัน ผศ. ดร. ดวงกมล ชาติประเสริฐ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Elaine Correa, 2006. Ethics "on-line" E-Learning and Issues of Academic Integrity Information obtained from the web, may be viewed as ‘free’ and thus not necessitating the usual academic documentation or citation A simple ‘cut and paste’ from a web-site, may be viewed as providing evidence of ‘like-minded’ thinkers.
Since these opinions are found on the web, students may accept that such work is not officially ‘published’ (like articles that appear in scholarly academic journals) and thus do not require academic references students may interpret information gathered through web-sites as legitimate’ sources of data, and thus opt to incorporate such findings into their work.
Ted Brown, 2008. Ethics in eLearning. The most recent National Survey of Student Engagement indicates that as high as 59% of U.S. students involved in eLearning programs admit to some sort of academic fraud either “very often (27%) or “often” (32%). (NSSE, 2007)
ดวงกมล ชาติประเสริฐและคณะ (2009) ผู้ตอบแบบสอบถามกว่าร้อยละ 70 ระบุว่าเคยคัดลอกและดัดแปลงข้อความจากอินเทอร์เน็ต หรือเคยนำข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้โดยไม่เขียนอ้างอิงแหล่งที่มาในระดับตั้งแต่ปานกลางขึ้นไป ในจำนวนนี้ เกือบร้อยละ 40 ระบุว่าเคยละเมิดจริยธรรมในแต่ละด้านในระดับมากขึ้นไป การละเมิดที่พบว่ามีผู้ทำสูงสุดคือการดัดแปลงข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาเป็นของตนเอง และการไม่เขียนอ้างอิงแหล่งที่มาเนื่องจากไม่ปรากฏแหล่งที่มาอยู่แล้ว และเนื่องจากเป็นเรื่องยุ่งยาก ส่วนผู้ที่ไม่เขียนอ้างอิงแหล่งที่มาเนื่องจากไม่อยากให้ใครรู้ว่าคัดลอกมามีจำนวนน้อยกว่าการไม่อ้างอิงแหล่งที่มาเพราะสองสาเหตุข้างต้น
เหตุผลของผู้ที่อ้างอิงที่มา ได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ให้เห็นความสำคัญของการอ้างอิง หากไม่อ้างอิงเกรงว่าจะถูกอาจารย์ตัดคะแนน เห็นความสำคัญของการอ้างอิงด้วยตนเอง แม้จะอ้างอิงแหล่งที่มาก็ไม่ได้เห็นความสำคัญ แต่ทำไปเพื่อให้ครบถ้วนตามรูปแบบของการทำรายงานเท่านั้น อ้างอิงเพราะทำให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ มิใช่อ้างอิงเพราะเหตุผลทางจริยธรรม
ผู้ที่ไม่อ้างอิง ไม่เห็นความสำคัญ ไม่ได้อ้างอิงเนื่องจากมีเจตนาที่จะใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อคัดลอกงาน เข้าใจว่าเนื้อหาที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตเป็นเนื้อหาที่เปิดเผยให้สาธารณชนได้ใช้ จึงไม่จำเป็นต้องอ้างอิง การทำงานส่งอาจารย์ไม่จำเป็นต้องอ้างอิงเนื่องจากไม่ได้เผยแพร่ในวงกว้าง นำข้อมูลจากหลายแหล่งมาประมวลกัน และใส่ความคิดเห็นหรือการวิเคราะห์ของตนลงไปด้วย ถ้าในลักษณะนี้ตนไม่คิดว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ และอาจารย์ถือว่าเป็นการสังเคราะห์ด้วยตัวผู้เรียนเอง
Academic frauds in the eLearning environment (Fass, 1990) Inappropriate assistance on examinations Misuse of sources on papers and projects Writing assistance and other inappropriate tutoring Misrepresentation in the collection and reporting of data
Improper use of academic resources Disrespecting the work of others Fass, R. A. (1990) Cheating and plagiarism. Ethics and Higher Education. May, W. W. editor. New York: Macmillan Publishing Company and American Council on Education . Improper use of academic resources Disrespecting the work of others Lack of protection for human subjects in research Breaches of computer ethics Lack of adherence to copyright and copy-protection
Ethics of examinations Use of sources on papers and projects Fass, R. A. (1990) Cheating and plagiarism. Ethics and Higher Education. May, W. W. editor. New York: Macmillan Publishing Company and American Council on Education. Ethics of examinations Use of sources on papers and projects Writing assistance and other tutoring Collecting and reporting data Use of academic resources Respecting the work of others Computer ethics Giving assistance to others Adherence to academic regulations
Providing inappropriate assistance to others Lack of adherence to academic regulations
Motivation for cheating pressure for grades anxiety in the testing environment, lack of knowledge related to academic regulations, personality characteristics lack of development of moral reasoning.
Technology has given cheaters and people with low ethical standards more options for dishonesty. Via the Internet, one can buy term papers, look for old tests and answers, and even find someone to act as an impersonator throughout an entire course.
eLearning environment Psychological distance Lack of knowledge of curricular regulations and the academic code of behavior
อิทธิพลของสารสนเทศที่มีต่อผู้เรียน เนื้อหาของสารสนเทศ รูปแบบของสารสนเทศ ลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้สำหรับ e learning
อิทธิพลของเนื้อหา Social Cognitve Theory (Bandura) พฤติกรรมของคนเราส่วนมากจะเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ (Modeling) สำหรับตัวแบบไม่จำเป็นต้องเป็นตัวแบบที่มีชีวิตเท่านั้น แต่อาจจะเป็นตัวสัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์หรืออาจจะเป็นรูปภาพการ์ตูนหนังสือคำบอกเล่าด้วยคำพูดหรือข้อมูลที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรก็เป็นตัวแบบได้
แรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรม มีแรงเสริมให้ได้สิ่งที่ต้องการ และไม่ต้องเจอสิ่งที่ไม่ต้องการ ไม่มีการลงโทษ สื่อสามารถเป็นได้ทั้งต้นแบบ และเสนอเนื้อหาที่มีผลต่อแรงจูงใจ
Theory of Reasoned Action : TRA และ Theory of Planned Behavior : TPB เจตนาที่จะแสดงพฤติกรรมเป็นผลจาก ทัศนคติต่อพฤติกรรม อิทธิพลของกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม
สารสนเทศและการครอบงำทางอุดมการณ์ สิ่งที่เป็นธรรมชาติ ต้องยอมรับ หลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้คุณค่าแก่ความสำเร็จในระบบทุนนิยม
ธรรมชาติของสารสนเทศ มีปริมาณมาก มีความซับซ้อน เขียนด้วยภาษาต่างประเทศ มีการคัดลอกต่อ ๆ กันมา หาที่มาไม่ได้ มีการนำเสนอที่ดูไม่เป็นทางการ ข้อมูลเมื่ออยู่บนอินเทอร์เน็ตจะสืบค้นได้ง่าย ข้อมูลถูกคัดลอกและดัดแปลงได้ง่าย
ลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศ ความไม่มีตัวตน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ความเคารพ การประเมินความสามารถ การสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิด psychological distance Disinhibitory effect
Psychological Distance (Savin, 1992) In interacting with others face-to-face we get immediate feedback on inappropriate and unethical behaviors, even if it is as subtle as body language. In using information technology in a way that could harm to others, the act feels less personal because we can’t see or hear the other person in the exchange.