14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
ความหมายของโครงงาน โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด.
โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด มีความพร้อมและสนใจ.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัย : ข้อเสนอโครงการวิจัย RESEARCH METHODOLOGY
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเขียนรายงานการวิจัย
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนโครงการ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal) กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

โครงร่างการวิจัย คือแบบแปลนหรือ แผนในการแสวงหาความรู้โดยแสดงให้เห็นความสำคัญและความเป็นไปได้ ในการดำเนินการให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายได้ เพื่อนำเสนอขอรับการสนับสนุนหรือ ความเห็นชอบในการอนุมัติให้ดำเนินการ

ทำไมต้องเขียนโครงร่างการวิจัย เพื่อเป็นหลักประกันในการปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ในโครงร่างการวิจัย ให้ผู้วิจัยได้มีโอกาสชี้แจงรายละเอียดการศึกษาวิจัย และกรอบแนวคิดของงานวิจัย เป็นสื่อระหว่างผู้ร่วมทำโครงการวิจัย ให้เข้าใจ ไปในทิศทางเดียวกัน

ประโยชน์ของการเขียนโครงร่างการวิจัย เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการ เพื่อให้การวิจัยไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในการวิจัย ช่วยประมาณการค่าใช้จ่าย เวลา บุคลากร ทรัพยากร ประหยัดเวลา/ถ้าทำตามแผนที่วางไว้/เตือนความจำ เพื่อเสนอขอรับทุนจากหน่วยงานที่ให้ทุน

องค์ประกอบโครงร่างการวิจัย 1. ชื่อโครงการ (The Tiltle) 2. ผู้รับผิดชอบโครงการ 3. ความสำคัญและที่มาของปัญหา (Background & Rationale) 4. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives) 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย (expected benefits and application) 6. การตรวจเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

7. นิยามศัพท์ (Operational Definition) 8. ระเบียบวิธีการวิจัย 9. ขอบเขตการวิจัย 10. ระยะเวลาการวิจัย 11. แผนการดำเนินงาน 12. เอกสารอ้างอิง

1.   ชื่อโครงการ (the title)  เป็นส่วนดึงดูดความสนใจ ควรมีความหมายสั้น กะทัดรัดและชัดเจน เพื่อระบุถึงเรื่องที่จะทำการศึกษาวิจัย ว่าทำอะไร กับใคร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด หรือต้องการผลอะไร 2. ผู้รับผิดชอบโครงการ หัวหน้าโครงการ.......... ผู้ร่วมดำเนินการ......... ที่ปรึกษาโครงการ.......

3. ความสำคัญและที่มาของปัญหา (Background & Rationale) ปัญหาการวิจัยคืออะไร มีความเป็นมาหรือภูมิหลังอย่างไร มีความสำคัญ รวมทั้งความจำเป็นคุณค่าและประโยชน์ ที่จะได้จากผลการวิจัยในเรื่องนี้

  4.   วัตถุประสงค์ของการวิจัย (objectives) เป็นการกำหนดว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้าง * วัตถุประสงค์ทั่วไป (General Objective) กล่าวถึงสิ่งที่ คาดหวัง (implication) * วัตถุประสงค์เฉพาะ (Specific Objective) จะพรรณนาถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นจริง

5.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย (expected benefits and application) ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ได้จริง ในด้านวิชาการ ผลจะตกกับใคร เป็นสำคัญ 6. การตรวจเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมแนวคิด ทฤษฎี ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

7.คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย (operational definition) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความ อย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้

5. สมมติฐาน (Hypothesis) และกรอบแนวคิดในการวิจัย (conceptual framework) แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (independent variables) และตัวแปรตาม (dependent variable)

6. ขอบเขตของการวิจัย     เป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษา มีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด 7. คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย (operational definition) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความ อย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้

8. ระเบียบวิธีการวิจัย ด้านสังคม ประชากร กลุ่มตัวอย่าง การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบ และทดลอง แผนการทดลอง วิธีการทดลอง การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล 9. ขอบเขตการวิจัย ระบุขอบเขต สถานที่

10. ระยะเวลาการวิจัย มกราคม –ตุลาคม 2556 11. แผนการดำเนินงาน

12. เอกสารอ้างอิง ระบุรายชื่อเอกสารที่คำการค้นคว้าอ้างอิง ความคิดเห็นของคณะทำงานวิจัย

จบการนำเสนอ