ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Advertisements

นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีเจริญมิตรพณิชยการ
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
การแก้ไขพฤติกรรมการแต่งกาย
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
Eastern College of Technology (E.TECH)
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาววรรณนิกา บุญประเสริฐ
ชื่อเรื่อง. ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

ปัญหาการวิจัย * ปีการศึกษา 2552 คิดเป็นร้อยละ 14.53 ปัจจุบันปัญหาการออกกลางคันของนักศึกษาประเภทอาชีวศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชนนับว่ามีการออกกลางคันในอัตราที่สูงกว่าร้อยละ 10 รวมถึงวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ด้วยเช่นกัน ซึ่งจะเห็นได้จากสถิติการออกกลางคันของนักศึกษาในแต่ละปีดังนี้ * ปีการศึกษา 2552 คิดเป็นร้อยละ 14.53 * ปีการศึกษา 2553 คิดเป็นร้อยละ 13.06 * ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ได้มีความตระหนักและเห็น ความสำคัญของการออกกลางคันของนักศึกษา จึงได้กำหนดแนวการแก้ไขปัญหา ในเชิงรุก โดยให้ครูที่ปรึกษาติดตามนักศึกษาที่ขาดเรียนติดต่อกัน 3 วัน และ รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารสถานศึกษาทราบเป็นประจำทุกสัปดาห์

จากการดำเนินงานพบว่า ปีการศึกษา 2554 มีนักศึกษาที่ออกกลางคัน คิดเป็นร้อยละ 11.98 ซึ่งมีอัตราการออกกลางคันลดลงจากปีการศึกษา 2553 (13.06 – 11.98 ) คิดเป็นร้อยละ 1.08 ดังนั้นในปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ได้มีความ ตระหนักถึงปัญหาการอกลางคันของนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ จึงได้ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคัน ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ประจำปีการศึกษา 2556 เพื่อลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคัน ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ประจำปีการศึกษา 2556

ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย นำผลการวิจัยในครั้งนี้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหา การออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ในปีการศึกษาต่อไป

กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษาวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ประจำปีการศึกษา 2556 โดยทำการศึกษาวิจัยกับนักศึกษากลุ่มเสี่ยง/กลุ่มมีปัญหา ใน 5 ด้าน ดังต่อไปนี้ได้แก่ 1.1 ด้านการมาสาย 1.2 ด้านการหนีเรียน 1.3 ด้านการขาดเรียน 1.4 พฤติกรรมเสี่ยงด้านยาเสพติด 1.5 พฤติกรรมเสี่ยงด้านลักษณะชู้สาว

2.ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ประจำปีการศึกษา 2556 ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน 788 คน ได้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ นักศึกษากลุ่มเสี่ยง/กลุ่มมีปัญหา 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลการดำเนินงานโครงการลดจำนวน การออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ประจำปีการศึกษา 2556

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางแสดง จำนวนและร้อยละของนักศึกษาออกกลางคันของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556

ผลการวิเคราะห์ จากตารางแสดงจำนวนนักศึกษาที่ออกกลางคันมากที่สุดคือนักศึกษาระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 9.62 รองลงมา คือนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพณิชยการ คิดเป็น ร้อยละ 9.27น้อยที่สุดคือนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ คิดเป็นร้อยละ 8.86 จากตารางแสดงจำนวนนักศึกษาที่ออกกลางคันมากที่สุดคือ นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 9.44 รองลงมา คือนักศึกษาระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง คิดเป็นร้อยละ 8.97

สรุปผลการวิจัย Thank You !!! ผลจากการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษา ปีการศึกษา 2553 จำนวนการออกกลางคันของนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 13.06 ปีการศึกษา 2554 จำนวนการออกกลางคันของนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 11.98 ปีการศึกษา 2555 จำนวนการออกกลางคันของนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 9.87 ปีการศึกษา 2556 จำนวนการออกกลางคันของนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 9.32 จากการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ จะเห็นได้ว่าจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปี Thank You !!!