การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุปิยา ลิมป์กฤตนุวัตร์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Advertisements

ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
Workshop 1.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง High Performance Organization
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
Analyzing The Business Case
หมวด2 9 คำถาม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำแผนที่กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบริหารเชิงกลยุทธ์แบบบูรณาการ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Balanced Scorecard ( BSC ).
Strategic management Business Concept Business Model
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การวางแผนยุทธศาสตร์.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การจัดการ (Management)
การเขียนโครงการ.
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กร สู่การปฏิบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่

การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results based Management (RBM) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) คือ วิธีการบริหารจัดการที่เป็นระบบที่มุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ หรือผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

กรอบความคิดเรื่องการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUTS กิจกรรม PROCESSES ผลผลิต OUTPUTS ผลลัพธ์ OUTCOMES ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล

ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทรัพยากรที่ใช้กับปริมาณผลผลิตที่เกิดจากกิจกรรมหรือโครงการ ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสัมพันธ์ของผลลัพธ์ของการกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ อาศัย..........การขับเคลื่อนเชิงกลยุทธ์

ทำอย่างไรทุกคนถึงเข้าใจในยุทธศาสตร์ Strategy Organization Target (ยุทธศาสตร์) (เป้าหมายองค์กร) Balanced Scorecard BSC โดยมีตัวชี้วัด (KPI) บอกว่าได้ดำเนินการบรรลุเป้าหมายเพียงใด

Balanced Scorecard ระบบราชการ ระบบธุรกิจ มุมมอง ประสิทธิผลตาม พันธกิจ มุมมอง การเงิน มุมมอง ลูกค้า มุมมอง กระบวนการ ภายใน มุมมอง การเรียนรู้และ การพัฒนา ระบบราชการ มุมมอง ประสิทธิผลตาม พันธกิจ มุมมอง คุณภาพการให้ บริการ มุมมอง ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ มุมมอง การพัฒนาองค์กร

ประเด็นคำถามเพื่อช่วยในการจำแนกกลยุทธ์ มิติการประเมินผล ประเด็นคำถาม ประสิทธิผลตามพันธกิจ (Run the Business) ผลลัพธ์ที่สำคัญจากประเด็นยุทธศาสตร์นั้นคืออะไร อะไรเป็นเครื่องบ่งชี้ที่สำคัญว่าประเด็นยุทธศาสตร์นั้นประสบความสำเร็จ คุณภาพการให้บริการ (Serve the Customer) กลยุทธ์ที่สนองตอบความต้องการของผู้รับบริการให้เกิดความพึงพอใจนำไปสู่การใช้บริการซ้ำหรือรายได้เพิ่มฯ ประสิทธิภาพการจัดการ (Manage Resources) การก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือผลลัพธ์ องค์กรต้องการทรัพยากรอะไรบ้าง ต้องมีกระบวนการ หรือกิจกรรมอะไรบ้าง เพื่อนำไปสู่ความคุ้มค่าการลดต้นทุน ลดรอบระยะเวลา ฯลฯ พัฒนาองค์กร (Capacity Building) จะต้องมีการพัฒนาองค์กรในด้านใดบ้าง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมขององค์กรในการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ เช่น คน เทคโนโลยี ระบบข้อมูล ผลงานวิจัย ฯลฯ

การสร้างคุณค่าผลงาน ลดการใช้จ่าย (ต้นทุน) ประสิทธิผลตามพันธกิจ : คุณภาพการให้บริการ : ลดการใช้จ่าย (ต้นทุน) เพิ่มความคุ้มค่าของงาน เพิ่มความพึงพอใจ ลดเวลารอรับบริการ เพิ่มความปลอดภัย เพิ่มการมีส่วนร่วม 9

การสร้างคุณค่าผลงาน....(ต่อ) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน : ลดขั้นตอนงาน ปรับปรุงงาน การพัฒนาองค์กร : พัฒนาทักษะ เพิ่มเครือข่ายการทำงาน 10

Full Balanced Scorecard SMS Vision - วิสัยทัศน์ Strategic - ประเด็นยุทธศาสตร์ Goal - เป้าประสงค์ KPI - ตัวชี้วัด มิติประสิทธิผลตามพันธกิจ Strategy - กลยุทธ์ มิติคุณภาพการให้บริการ Scorecard Objective - วัตถุประสงค์ มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ Measure - ตัววัด มิติการพัฒนาองค์กร Target - เป้าหมาย Initiative Budget - งบประมาณ Tactic - กลวิธี Project Management - การบริหารโครงการ

การถ่ายทอดเป้าหมายขององค์กร (Strategy Deployment) มิติที่ 1 Balance Scorecard มิติที่ 2 มิติที่ 3 มิติที่ 4 Organization Scorecard Business Scorecard Individual Scorecard

สรุป 1 Balanced Scorecard =Strategy + Operations + Change

Doing things differently สรุป 2 Strategy = Doing the right things Operations = Doing things right Change = Doing things differently

Are We Doing Thing Right? Are We Doing The Right Things? การบริหารจัดการ Input Process Work Behavior Are We Doing Thing Right? (How) Output Outcome Performance Are We Doing The Right Things? (What) 15

“What” Performance “How” Work Behavior เป้าหมาย ตัวชี้วัด ไม่ต่ำกว่า 70% คุณลักษณะผู้นำ พฤติกรรมการทำงาน ไม่เกินกว่า 30% 16

คำถาม.....จะวัดผลงานมากขนาดไหน ดี คำถาม.....จะวัดผลงานมากขนาดไหน ดี การวัดทุกอย่าง = ไม่ได้วัดอะไรเลย (Measure Everything But Noting) แต่ ควรวัดต่อเนื่องเพื่อการแก้ปัญหาและตัดสินใจ 17

KPI & PI KPIs (few) CORE PIs (many)

ข้อควรคำนึงในการกำหนดตัวชี้วัด S มีความเจาะจง ว่าต้องการทำอะไร และ ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร เจาะจง (Specific) M ต้องวัดผลที่เกิดขึ้นได้ ไม่เป็นภาระ ตัวชี้วัดไม่มากเกินไป วัดได้ (Measurable) A เห็นชอบ (Agreed Upon) ต้องได้รับการเห็นชอบซึ่งกันและกันระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้บังคับบัญชา R เป็นจริงได้ (Realistic) ต้องท้าทาย และสามารถทำสำเร็จได้ T ภายใต้กรอบเวลาที่ เหมาะสม (Time Bound) มีระยะเวลาในการทำงานที่เหมาะสม ไม่สั้นไม่ยาวเกินไป 19

ระดับค่าเป้าหมาย Start 1 2 3 4 5 ค่าเป้าหมาย ต่ำสุดที่รับได้ ในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มี ความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็น ค่ามาตรฐานโดยทั่วไป สำหรับการกำหนดค่าเป้าหมาย จะกำหนดไว้เป็นมาตรฐาน 5 ระดับ อาจเป็นลักษณะเชิงปริมาณ เชิงปริมาณที่มีเรื่องคุณภาพของงานรวมด้วย เช่น ความถูกต้อง ความรวดเร็วทันเวลา เป็นต้น ค่าเป้าหมายอาจเป็นลักษณะร้อยละ ระดับความสำเร็จ ก็ได้ตามลักษณะงาน เพื่อให้ค่าเป้าหมายมีการจำแนกการทำงานของผู้รับการประเมินได้ การตกลงค่าเป้าหมายควรที่จะมีการกำหนดงานที่สามารถทำได้เป็นระดับ 3 ไม่ควรกำหนดไว้ในระดับ 5 ระดับ 4-5เป็นระดับที่ยากที่จะทำสำเร็จได้ หรือทำได้เกินเป้าหมายที่หน่วยงานกำหนด ส่วนระดับ 1 ก็ต้องเป็นระดับผลงานที่ต่ำสุดที่หน่วยงานยอมรับได้ด้วย Start

สิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย พิจารณาวัตถุประสงค์ : งานนี้ทำไปเพื่ออะไร กำหนดตัวชี้วัด : จะวัดความสำเร็จของงานได้อย่างไร (ระบุหน่วยที่จะใช้วัด เช่น จำนวน ร้อยละ ระยะเวลาที่เสร็จ ฯลฯ) กำหนดค่าเป้าหมาย : ระดับค่าเป้าหมายของ ความสำเร็จคืออะไร (ระบุค่าเป้าหมาย ณ ระดับต่าง ๆ) 1. 2. 3. กำหนดน้ำหนัก : ตัวชี้วัดนี้ มีน้ำหนักความสำคัญเพียงใด เมื่อเทียบกับตัวชี้วัดอื่นๆ 4. วัดผลสำเร็จ : จะวัดหรือเก็บข้อมูลด้านใด เมื่อใด และจากแหล่งไหน หรือจะอ้างอิงวิธีการประเมินอย่างไร 5.

เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) 22

แนวทางการประเมินสมรรถนะ วิธีการประเมินสมรรถนะ : จะประเมินโดยใช้ดุลยพินิจ

Q & A 24