การถ่ายวีดีโอ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
Work Shop: Set Actor & Story
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
รูปแบบของ Windows Movie Maker
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
กลุ่ม L.O.Y..
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การเขียนผังงาน.
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
โครงการ การสร้างสื่อผลิต MV ( Music Video )
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
บทที่ 9 การเตรียมตัวก่อนการนำเสนอ
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
Background / Story Board / Character
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
ความหมายของแอนิเมชัน
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
BSRU Animation STUDIOS
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
การเคลื่อนไหวของกล้อง
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
การกำหนดเทคนิคให้กับสไลด์
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
การพูด.
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
“คำพูดคุณครู”.
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
เทคนิคการเปลี่ยนภาพ โดยใช้อุปกรณ์ตัดต่อ วีดีทัศน์.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านสื่อผสม
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถ่ายวีดีโอ

จัดทำโดย นาย ธนพล พันธุลาภ แผนกช่าง อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.1 กลุ่ม 1 รหัส 5631050023

การถ่ายวีดีโอ 1.การเขียน Story Board 2.สิ่งสำคัญที่อยู่ใน Story Board 3.การเดินถ่ายวีดีโอไปด้านหน้า 4.การเชื่อมภาพ 5.การเคลื่อนไหวของนักแสดง

1.การเขียน Story Board การเขียน Story Board คือ การเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ละเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูด และแต่ละอย่างนั้น มีลำดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน หลัง อะไรจะปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือหนังขึ้นมาจริงๆ

2.สิ่งสำคัญที่อยู่ใน Story Board 1. Subject หรือ Character ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ หรือตัวการ์ตูน ฯ ที่สำคัญคือพวกเขากำลังเคลื่อนไหวอย่างไร 2. กล้อง ทำงานอย่างไร ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพ และการเคลื่อนกล้อง 3. เสียง พวกเขากำลังพูดอะไรกัน มีเสียงประกอบ หรือเสียงดนตรีอย่างไรหลายคนอาจจะกลัวว่าตัวเองวาดรูปไม่เก่งแล้วจะวาด Storyboard ได้อย่างไร อย่าลืมนะครับว่า Storyboard เป็นเพียงรูปที่วาดง่ายๆก็ได้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อถ่ายทอดไอเดียรว่าภาพจะออกมาเป็นบนจอภาพยนตร์อย่างไร

ตัวอย่าง Story Board

3.การเดินถ่ายวีดีโอไปด้านหน้า พื้นฐานที่สำคัญในการเดินถ่ายวีดีโอ คือ พยายามทำให้ร่างกายอยู่ในสภาพจุดศูนย์ถ่วงต่ำโดยการงอเข่าและย่อตัวให้ต่ำลง เดินด้วยปลายเท้าค่อยๆวางเท้าลง ไม่กระแทกส้นเท้า ยกเท้าไม่สูง ระหว่างเดินถ่ายวีดีโอควรเดินช้าๆ การเดินถ่ายวีดีโอไปด้านหน้าหรือด้านหลังก็ใช้พื้นฐานเดียวกัน แต่ต้องระวังสิ่งของที่อยู่ด้านหลังด้วย

4.การเชื่อมภาพ การเชื่อมภาพ คือ การเปลี่ยนภาพจากช้อตหนึ่ง ไปสู่ช้อตหนึ่ง หรือระหว่างฉากหนึ่ง ไปสู่อีกฉากหนึ่ง ก็สามารถวาดไว้ใน Story Board ได้เหมือนกัน แม้ว่าปัจจุบันการตัดต่อทุกอย่างจะทำในคอมพิวเตอร์ แต่การเขียน Transition ไว้ใน Story Board มันก็ไม่เสียหาย

4.1 CUT CUT คือ การตัดชน เป็นวิธีพื้นฐานและใช้บ่อยที่สุด ปกติในStory Board ก็จะมีการแบ่งเฟรมภาพเป็นช่องๆ ซึ่งหมายถึงการตัดชนธรรมดา บางคนอาจจะไล่จากซ้ายไปขวาแล้วขึ้นแถวใหม่ หรือบางคนอาจจะไล่จากบนลงล่าง แล้วขึ้นคอลัมน์ใหม่ก็ได้ แล้วแต่ถนัด DISSOLVE ภาษาไทยใช้คำว่า ‘การจางซ้อน’ เป็นการละลายภาพ 2 ภาพให้มาแทนที่กัน มักใช้สื่อความหมายว่าเวลาได้ดำเนินผ่านไปเล็กน้อย การวาด Story Board เพื่อให้รู้ว่า 2 ช้อตนี้จะ Dissolve เข้าหากัน ทำได้โดยวาดเครื่องหมายกากบาทไขว้

4.2 LONG TAKE LONG TAKE คือ การถ่ายภาพต่อเนื่องเป็นช้อตเดียวโดยไม่คัท ปกติถ้าการแสดงไม่มากก็อาจจะวาดเพียงช่องเดียว แต่บางครั้งการแสดงนั้นเปลี่ยนไป เช่น เปลี่ยนท่าทาง เปลี่ยนบล็อกกิ้ง มีตัวละครเพิ่ม ฯ การวาด Story Board โดยให้รู้ว่านี่ เป็นช้อตต่อเนื่องกัน ไม่คัท อาจจะทำได้โดยการวาดช่องใหม่ แต่ให้ขอบเฟรมติดกัน เป็นการบอกว่านี่คือการถ่ายแบบต่อเนื่อง

5.การเคลื่อนไหวของนักแสดง บางครั้ง Story Board ที่เป็นภาพนิ่งๆ ก็อาจจะเล่าเรื่องได้ไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะเมื่อนักแสดงหรือวัตถุมีการเคลื่อนไหว จึงนิยมวาดลูกศรเพื่ออธิบายทิศทางการเคลื่อนไหวนั้น โดยใช้ลูกศรสีดำ

ขอจบการรายงานเพียงเท่านี้ครับ