วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
พฤติกรรม : กรณีห่างไกลสิ่งเสพติดของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นางพัษนีย์ อิมะนันทน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
Eastern College of Technology (E.TECH)
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด

การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ การศึกษาปัจจัยในการเลือกศึกษาต่อที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 1) และ ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส. 1) ปีการศึกษา 2556 นางสุทิน สังอุไร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ การศึกษาปัจจัยในการเลือกศึกษาต่อที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 1) และ ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส. 1) ปีการศึกษา 2556 นางสุทิน สังอุไร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

ปัญหาของการวิจัย เป็นกรณีศึกษาถึงปัจจัยในการเลือกศึกษาต่อที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 1) และ ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส. 1) ปีการศึกษา 2556

วัตถุประสงค์ของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาปัจจัยในการเลือกศึกษาต่อที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) และ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) ปีการศึกษา 2556

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 จำนวน 191 คน นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 จำนวน 103 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) และ นักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) ปีการศึกษา 2556 จำนวน 294 คน ใช้วิธีการได้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจัดทำเป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกศึกษาต่อที่วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) และระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) ปีการศึกษา 2556 มี 3 ด้านคือ ด้านที่ 1. ตนเองและผู้ปกครอง ด้านที่ 2.สภาพแวดล้อมเศรษฐกิจและสังคม ด้านที่ 3.สถานศึกษา แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale

ขั้นตอนการดำเนินการการวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสร้างเครื่องมือการวิจัย ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบและปรับปรุง ทดลองใช้ ปรับปรุง เก็บรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการวิจัย

สถิติที่ใช้ในการวิจัย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าความถี่ วิเคราะห์ความถี่

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์ภาพรวมการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกศึกษาต่อที่วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) และระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส1)ปีการศึกษา 2556

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 2 ผลการศึกษาปัจจัยในการเลือกศึกษาต่อที่วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.1 และปวส.1 ปีการศึกษา 2556 เป็นรายด้านโดยเสนอเฉพาะรายการที่ได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกของแต่ละด้าน

สรุปผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์โดยภาพรวม พบว่าทุกปัจจัยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ปัจจัยด้านสถานศึกษา รองลงมาได้แก่ปัจจัยด้านตนเองและผู้ปกครอง ตามลำดับ