ผู้วิจัย : ประชิด เกิดมาก. เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญยิ่งขึ้นต่อการศึกษาสู่ อนาคต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษา เพื่อให้ สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
เรื่องเลขยกกำลัง วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
จัดทำโดย นางสาวสุชาภา นรพัลลภ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ปัญหา 1 นักศึกษามีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก ปัญหา 2 นักศึกษาไม่สามารถนำทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปใช้ใน การปัญหาต่างๆใน ชีวิตประจำวันได้
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย : ประชิด เกิดมาก

เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญยิ่งขึ้นต่อการศึกษาสู่ อนาคต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษา เพื่อให้ สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ การศึกษาและสังคม ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดความรู้ และทักษะในกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างเป็น รูปธรรมยิ่งขึ้นและยังเป็นเครื่องมือช่วยให้เข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้มากและรวดเร็ว จนสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ทุกหนทุกแห่ง เกิดรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน และเรียนรู้ได้ตลอดเวลาในด้านการศึกษา และสังคม ในฐานะผู้วิจัยมีความสนใจในการสร้างหนังสืออีเล็คทรอ นิคส์ (e-Book) วิชาการบริหารค่าจ้างและเงินเดือนและ ประโยชน์เกื้อกูลเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนให้สูงขึ้นซึ่งสอดคล้องกับการเรียนการ สอนในยุคปฏิรูปการศึกษา ปัญหาการวิจัย

1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) วิชาการบริหารค่าจ้างเงินเดือน และประโยชน์เกื้อกูล 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e- Book) วิชาการบริหาร ค่าจ้างเงินเดือนและประโยชน์เกื้อกูล 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e- Book) วิชาการบริหารค่าจ้างเงินเดือน และประโยชน์เกื้อกูล วั ตถุประสงค์

ตารางสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนและ หลังเรียนของการเรียน ด้วยหนังสืออีเล็คทรอนิคส์ (e-Book) รายวิชาการ บริหารค่าจ้างเงินเดือนและประโยชน์เกื้อกูล ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนและหลัง เรียนของการเรียนด้วย หนังสืออีเล็คทรอนิคส์ (e-Book) รายวิชาการบริหารค่าจ้าง เงินเดือนและประโยชน์เกื้อกูล ผลสัมฤท ธิ์ N ก่อนเรียนหลังเรียน 2 t. ทางการ S.D. ( เรียน ,8 44 9, * * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01

จากการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) วิชาการบริหารค่าจ้างเงินเดือนและประโยชน์เกื้อกูล ผู้วิจัย สรุปผลดังต่อไปนี้ 1. หนังสืออีเล็กทรอนิกส์ (e-Book) วิชาการบริหาร ค่าจ้างเงินเดือนและประโยชน์เกื้อกูลมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ E1/E2 : 86.57/90.51 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ที่กำหนด 2. นักศึกษาที่เรียนวิชาการบริหารค่าจ้างเงินเดือน และประโยชน์เกื้อกูล โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ นักศึกษามีความพึงพอใจต่อหนังสือ อีเล็กทรอนิกส์ (e-Book) วิชาการบริหารค่าจ้าง เงินเดือนและประโยชน์เกื้อกูล ภาพรวม อยู่ในระดับ มาก และรายข้อพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย