กรณีศึกษา นายหล่อนะ
บุคคลธรรมดาศึกษา โดย รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร วันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๕
สถานะบุคคลตามกฎหมายของหล่อนะในขณะที่เขาเกิด
นายอย่อโอ่ะ เหย่อทงกู่ เกิดในพม่า เมื่อ พ. ศ. ๒๔๗๘ นางหมี่หนี เห ย่อทงกู่ เกิดในพม่า เมื่อปี พ. ศ. ๒๔๗๗ นายหล่อ นะ เกิดใน ไทย เมื่อ ๒ / ๗ / ๒๔๙๘ เป็นไทย หรือไม่ ? พ. ร. บ. สัญชาติ พ. ศ. ๒๔๙๕ + ๒๔๙๖ ม. ๗ ( ๓ ) ไม่ยอมรับ ให้เป็นไทย
โดยมาตรา ๗(๓) แห่ง พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ.๒๔๙๕ + ๒๔๙๖โดยมาตรา ๗(๓) แห่ง พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ.๒๔๙๕ + ๒๔๙๖ นายหล่อนะไม่ได้สัญชาติไทย โดยหลักดินแดนโดยการเกิดนายหล่อนะไม่ได้สัญชาติไทย โดยหลักดินแดนโดยการเกิด เพราะเกิดในประเทศไทยโดย มารดามิใช่คนไทยเพราะเกิดในประเทศไทยโดย มารดามิใช่คนไทย
สถานะบุคคลตามกฎหมายของหล่อนะ นับแต่ 13/2/2500
นายอย่อโอ่ะ เหย่อทงกู่ เกิดในพม่า เมื่อ พ. ศ. ๒๔๗๘ นางหมี่หนี เห ย่อทงกู่ เกิดในพม่า เมื่อปี พ. ศ. ๒๔๗๗ นายหล่อ นะ เกิดใน ไทย เมื่อ ๒ / ๗ / ๒๔๙๘ พ. ร. บ. สัญชาติ พ. ศ. ๒๔๙๕ พ. ร. บ. สัญชาติ ( ฉบับที่ ๓ ) พ. ศ. ๒๔๙๙ ม. ๗ ( ๓ ) ไม่ยอมรับ ให้เป็นไทย ม. ๔ ยอมรับ ให้เป็นไทย
มาตรา ๔ แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๔๙๙มาตรา ๔ แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๔๙๙ มีผลเมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๐มีผลเมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๐ “บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทย“บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทย โดยมารดามิใช่คนไทยโดยมารดามิใช่คนไทย ในระหว่างใช้พระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ.๒๔๙๖ในระหว่างใช้พระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ.๒๔๙๖ ย่อมได้สัญชาติไทย”ย่อมได้สัญชาติไทย”